4 เรื่อง ที่จะเกิดขึ้นถ้าร่างรัฐธรรมนูญฉบับประชาชนมีผลบังคับใช้
อ่าน

4 เรื่อง ที่จะเกิดขึ้นถ้าร่างรัฐธรรมนูญฉบับประชาชนมีผลบังคับใช้

17 พฤศจิกายน 2563 ที่ประชุมรัฐสภามีนัดพิจารณาญัตติการแก้ไขรัฐธรรมนูญ จากร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญเจ็ดฉบับ โดยหนึ่งในร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญที่จะถูกพิจารณา คือ ร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญ ฉบับที่เสนอโดยประชาชน ซึ่งหากร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญฉบับประชาชนผ่านการเห็นชอบจากรัฐสภา และประกาศใช้อย่างเป็นทางการ สิ่งที่จะเกิดขึ้นกับเส้นทางข้างหน้าของการเมืองไทย มีอย่างน้อย 4 เรื่อง
ข้อเสนอแก้ไขรัฐธรรมนูญเสนอโดยประชาชน “5 ยกเลิก 5 แก้ไข”
อ่าน

ข้อเสนอแก้ไขรัฐธรรมนูญเสนอโดยประชาชน “5 ยกเลิก 5 แก้ไข”

ชวนทำความเข้าใจเนื้อหาและเหตุผลของ ร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญ 5 ยกเลิก 5 แก้ไข เพื่อ "รื้อ" ระบอบอำนาจของ คสช. "สร้าง" หนทางกลับสู่ประชาธิปไตย และเปิดทางให้เกิดการ "ร่าง" รัฐธรรมนูญฉบับใหม่ จากการมีส่วนร่วมของประชาชน  
วิทิต มันตาภรณ์ เรียกร้องปล่อยตัว-ถอนคดีผู้ชุมนุมโดยสงบ ตำแหน่งที่ได้มาโดยไม่ชอบให้ลาออก
อ่าน

วิทิต มันตาภรณ์ เรียกร้องปล่อยตัว-ถอนคดีผู้ชุมนุมโดยสงบ ตำแหน่งที่ได้มาโดยไม่ชอบให้ลาออก

วิทิต มันตาภรณ์ ผู้เชี่ยวชาญด้านสิทธิมนุษยชนของสหประชาชาติ พูดถึงเรื่องดุลยภาพในประเด็นสิทธิมนุษยชน โดยนำเสนอสามหัวข้อหลักเพื่อเป็นแนวทางสิทธิมนุษยชนที่ทุกฝ่ายใฝ่หา แม้แต่ละฝ่ายจะให้ความหมายแตกต่างกันแต่เรายังสามารถหาจุดสมดุลระหว่างกันได้
[อัพเดท!] สำหรับผู้ที่ร่วมลงชื่อ #แก้รัฐธรรมนูญ
อ่าน

[อัพเดท!] สำหรับผู้ที่ร่วมลงชื่อ #แก้รัฐธรรมนูญ

[อัพเดท!] สำหรับผู้ที่ร่วมลงชื่อ #แก้รัฐธรรมนูญ ตอนนี้สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรตรวจสอบเอกสารหลักฐานการลงชื่อและตรวจสอบความถูกต้องของผู้ที่เข้าชื่อเสนอร่างรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติม จำนวน 98,824 คน เสร็จเรียบร้อยแล้ว
สรุปความ ‘ไพบูลย์ นิติตะวัน’ ที่ FCCT ระบุไม่เห็นด้วยร่างประชาชน 100,000 ชื่อ
อ่าน

สรุปความ ‘ไพบูลย์ นิติตะวัน’ ที่ FCCT ระบุไม่เห็นด้วยร่างประชาชน 100,000 ชื่อ

กระแสการแก้ไขรัฐธร…
ร่างรัฐธรรมนูญประชาชนต้องไปต่อ สภาต้องบรรจุสมัยหน้าพิจารณาพร้อมร่างพรรครัฐบาล-ฝ่ายค้าน
อ่าน

ร่างรัฐธรรมนูญประชาชนต้องไปต่อ สภาต้องบรรจุสมัยหน้าพิจารณาพร้อมร่างพรรครัฐบาล-ฝ่ายค้าน

24 กันยายน 2563 ที่ประชุมรัฐสภามีมติเสียงข้างมากให้ตั้งคณะกรรมาธิการเพื่อพิจารณาญัตติแก้รัฐธรรมนูญที่พรรคร่วมรัฐบาลและพรรคร่วมฝ่ายค้านเป็นผู้เสนอก่อนลงมติรับหลักการ (วาระแรก) โดยคาดว่าต้องใช้กรอบเวลาพิจารณาประมาณ 30 วัน และเริ่มพิจารณาใหม่อีกครั้งในสมัยประชุมหน้า
ภาคประชาชนบุกสภา แจ้งครบ 50,000 ชื่อแก้รัฐธรรมนูญแล้ว
อ่าน

ภาคประชาชนบุกสภา แจ้งครบ 50,000 ชื่อแก้รัฐธรรมนูญแล้ว

16 กันยายน 2563 ไอลอว์พร้อมเครือข่ายภาคประชาชนยื่นหนังสือต่อประธานรัฐสภาเพื่อแจ้งว่าจะนำรายชื่อประชาชนที่รวบรวมได้ราว 70,000 คนซึ่งร่วมเข้าชื่อเสนอแก้ไขรัฐธรรมนูญมายื่นต่อสภาเพื่อให้สภานำไปพิจารณาร่วมกับร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญฉบับอื่นๆ โดยนัดหมายที่จะนำรายชื่อที่ตรวจสอบแล้วทั้งหมดมายื่นในวันที่ 22 กันยายนนี้ 
ถ้าร่างแก้รัฐธรรมนูญผ่านปีนี้ ปลายปีหน้าได้รัฐธรรมนูญใหม่
อ่าน

ถ้าร่างแก้รัฐธรรมนูญผ่านปีนี้ ปลายปีหน้าได้รัฐธรรมนูญใหม่

ในเดือนกันยายน 2563 คาดว่าจะมีการพิจารณาร่างรัฐธรรมนูญอย่างน้อยสองฉบับ โดยสาระสำคัญของร่างแก้รัฐธรรมนูญแต่ละฉบับมีจุดร่วมกัน คือ การเปิดทางให้มีการจัดทำร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่โดยสภาร่างรัฐธรรมนูญ (สสร.) ที่มาจากการเลือกตั้งโดยตรงของประชาชน และต้องจัดทำร่างรัฐธรรมนูญให้แล้วเสร็จภายในหนึ่งถึงสองปี 
ผ่าทางตันรัฐธรรมนูญไทยในมุมมอง “สิริพรรณ นกสวน สวัสดี”
อ่าน

ผ่าทางตันรัฐธรรมนูญไทยในมุมมอง “สิริพรรณ นกสวน สวัสดี”

รศ.ดร.สิริพรรณ นกสวน สวัสดี อาจารย์ประจำคณะรัฐศาสตร์ จุฬาฯ มองว่า ข้อเสนอเกี่ยวกับ สสร. ของทั้งพรรคฝ่ายค้านและรัฐบาลยังไม่เพียงพอต่อการสะท้อนกลุ่มก้อนทางสังคมเพราะใช้จังหวัดเป็นเขตเลือกตั้ง รวมถึงการแก้รัฐธรรมนูญจำเป็นต้องพิจารณาควบคู่กับสถานการณ์ทางการเมือง ซึ่งจากข้อเสนอเพื่อปิตสวิตช์ ส.ว. อาจต้องพิจารณาเรื่องการแก้ระบบเลือกตั้งควบคู่ไปด้วย
เปิดโมเดล สสร. ร่าง 50,000 ชื่อ เลือกตั้ง 100% ไม่แบ่งเขตตามจังหวัด
อ่าน

เปิดโมเดล สสร. ร่าง 50,000 ชื่อ เลือกตั้ง 100% ไม่แบ่งเขตตามจังหวัด

ข้อเสนอวิธีการตั้ง สสร. ของภาคประชาชนที่เปิดให้เข้าชื่อ 50,000 คน เสนอที่มาจากการเลือกตั้ง 100% ไม่มีโควต้าพิเศษสำหรับผู้ทรงคุณวุฒิ ไม่ต้องแบ่งเขตเลือกตั้งเป็นจังหวัด ใครอยู่ที่ไหนก็เลือกผู้สมัครได้ทุกคน