ประธานสภาสำคัญยังไง? สำรวจคุณสมบัติ ที่มา และหน้าที่ตามกฎหมาย
อ่าน

ประธานสภาสำคัญยังไง? สำรวจคุณสมบัติ ที่มา และหน้าที่ตามกฎหมาย

ตำแหน่งประมุขฝ่ายนิติบัญญัติหรือประธานสภาผู้แทนราษฎรเป็นอีกหนึ่งตำแหน่งสำคัญในทางการเมือง เนื่องจากตำแหน่งนี้เป็นหนึ่งในสามอำนาจอธิปไตยของการปกครองในระบอบประชาธิปไตย และมีบทบาทสำคัญในการคุมทิศทางของรัฐสภา
เปิดแล้ว! ระบบเข้าชื่อเสนอกฎหมายของสภา เช็ค 10 ขั้นตอนเริ่มลงชื่อได้เลย
อ่าน

เปิดแล้ว! ระบบเข้าชื่อเสนอกฎหมายของสภา เช็ค 10 ขั้นตอนเริ่มลงชื่อได้เลย

พ.ร.บ.เข้าชื่อเสนอกฎหมายฉบับใหม่ ให้เข้าชื่อเสนอกฎหมายทำทางออนไลน์ได้ มี 2 วิธี 1) เข้าชื่อทางเว็บผู้เชิญชวน 2) เข้าชื่อทางระบบเว็บสภาได้ ผู้เชิญชวนขอให้สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรให้อำนวยความสะดวกได้ ประหยัดต้นทุนผู้เชิญชวนไม่ต้องทำเว็บเอง
[อัพเดท!] สำหรับผู้ที่ร่วมลงชื่อ #แก้รัฐธรรมนูญ
อ่าน

[อัพเดท!] สำหรับผู้ที่ร่วมลงชื่อ #แก้รัฐธรรมนูญ

[อัพเดท!] สำหรับผู้ที่ร่วมลงชื่อ #แก้รัฐธรรมนูญ ตอนนี้สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรตรวจสอบเอกสารหลักฐานการลงชื่อและตรวจสอบความถูกต้องของผู้ที่เข้าชื่อเสนอร่างรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติม จำนวน 98,824 คน เสร็จเรียบร้อยแล้ว
ร่างรัฐธรรมนูญประชาชนต้องไปต่อ สภาต้องบรรจุสมัยหน้าพิจารณาพร้อมร่างพรรครัฐบาล-ฝ่ายค้าน
อ่าน

ร่างรัฐธรรมนูญประชาชนต้องไปต่อ สภาต้องบรรจุสมัยหน้าพิจารณาพร้อมร่างพรรครัฐบาล-ฝ่ายค้าน

24 กันยายน 2563 ที่ประชุมรัฐสภามีมติเสียงข้างมากให้ตั้งคณะกรรมาธิการเพื่อพิจารณาญัตติแก้รัฐธรรมนูญที่พรรคร่วมรัฐบาลและพรรคร่วมฝ่ายค้านเป็นผู้เสนอก่อนลงมติรับหลักการ (วาระแรก) โดยคาดว่าต้องใช้กรอบเวลาพิจารณาประมาณ 30 วัน และเริ่มพิจารณาใหม่อีกครั้งในสมัยประชุมหน้า
50,000 ชื่อแล้วยังไงต่อ? เมื่อประชาชนขอแก้รัฐธรรมนูญ ขั้นตอนยังอีกยาว
อ่าน

50,000 ชื่อแล้วยังไงต่อ? เมื่อประชาชนขอแก้รัฐธรรมนูญ ขั้นตอนยังอีกยาว

ในระหว่างที่ประชาชนกำลังช่วยเข้าชื่อให้ครบ 50,000 คน เพื่อยื่นข้อเรียกร้อง "รื้อ สร้าง ร่าง" รัฐธรรมนูญ จึงอยากชวนดูกันว่า หากเข้าชื่อได้ครบและนำไปยื่นต่อสภาแล้ว จะต้องเข้าสู่ขั้นตอนใดบ้างซึ่งยังไม่ใช่เรื่องง่าย ต้องผ่านอุปสรรคอีกหลายขั้นที่ยังเปิดช่องให้ถ่วงเวลาได้มาก
Q&A ตอบทุกคำถาม อยากลงชื่อ #แก้รัฐธรรมนูญ ต้องทำอย่างไรบ้าง
อ่าน

Q&A ตอบทุกคำถาม อยากลงชื่อ #แก้รัฐธรรมนูญ ต้องทำอย่างไรบ้าง

ระหว่างการล่ารายชื่อแก้ไขรัฐธรรมนูญมีคำถามเข้ามามากมาย หลายคนสงสัยว่าต้องทำอย่างไร มีขั้นตอนใดบ้าง เราจึงรวบรวมคำถามหลักๆ ที่พบบ่อยๆ มาลองอธิบายแบบสั้นๆ ไว้ที่นี่ที่เดียว
คำแนะนำสำหรับอาสาสมัคร เปิดจุดรับเข้าชื่อแก้รัฐธรรมนูญ
อ่าน

คำแนะนำสำหรับอาสาสมัคร เปิดจุดรับเข้าชื่อแก้รัฐธรรมนูญ

ข้อควรรู้สำหรับอาสาสมัครที่สามารถช่วยกันรวบรวมเอกสารเข้าชื่อให้ครบ 50,000 ชื่อ ไม่ว่าจะเป็นผู้จัดกิจกรรมชุมนุม เจ้าของร้านค้า ร้านอาหาร ที่พร้อมบริการผู้ที่อยู่อาศัยละแวกใกล้เคียง เก็บรวบรวมเอกสารรายชื่อก่อนส่งมารวมกัน
ร่าง พ.ร.บ.เข้าชื่อเสนอกฎหมายฉบับใหม่ ล่ารายชื่อออนไลน์ได้
อ่าน

ร่าง พ.ร.บ.เข้าชื่อเสนอกฎหมายฉบับใหม่ ล่ารายชื่อออนไลน์ได้

ท่ามกลางการเปลี่ยนแปลงในด้านเทคโนโลยีที่เป็นไปอย่างรวดเร็ว ทำให้ พ.ร.บ.เข้าชื่อเสนอกฎหมายฯ ที่บังคับใช้อยู่ไม่สอดคล้องกับวิถีชีวิตตามยุคสมัย ดังนั้น จึงมีความพยายามจากภาครัฐให้มีการแก้ไขกฎหมายดังกล่าว ซึ่งในปัจจุบัน มีร่างกฎหมายอยู่อย่างน้อยสองฉบับที่ปรากฎต่อสาธารณะ ได้แก่ ฉบับที่เสนอโดยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.) พรรคก้าวไกล และฉบับคณะรัฐมนตรี โดยจุดร่วมของร่างกฎหมายสองฉบับนี้ คือ การส่งเสริมระบบการเข้าชื่อเสนอกฎหมายผ่านช่องทางออนไลน์ 
“บำนาญแห่งชาติ” ความหวังชาตินี้ หรือชาติไหน?
อ่าน

“บำนาญแห่งชาติ” ความหวังชาตินี้ หรือชาติไหน?

ก่อนหน้าที่จะมีการระบาดของโควิด 19 เครือข่ายประชาชนเพื่อรัฐสวัสดิการได้พยายามผลักดันร่างกฎหมาย "พ.ร.บ.บำนาญแห่งชาติ" ซึ่งหลักใหญ่ใจความก็คือ การให้ผู้สูงอายุหรือผู้ที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป จะได้รับเงินบำนาญอย่างเสมอภาคกัน โดยวางกรอบวงเงินไว้ที่ 3,000 บาทต่อเดือน หลังภาคประชาชนรวบรวมรายชื่อไม่น้อยกว่า 10,000 คน เพื่อเสนอกฎหมายฉบับดังกล่าวสู่สภา กฎหมายกลับยังติดขัดอยู่ที่ตัวนายกรัฐมนตรี 
ประชาชนอยากลดอำนาจศาลรัฐธรรมนูญ ต้องร่วมกันแก้รัฐธรรมนูญเท่านั้น
อ่าน

ประชาชนอยากลดอำนาจศาลรัฐธรรมนูญ ต้องร่วมกันแก้รัฐธรรมนูญเท่านั้น

ศาลรัฐธรรมนูญยุบพรรคอนาคตใหม่ ถอนสิทธิกรรมการพรรคเป็นเวลา 10 ปี จากกรณี ธนาธร จึงรุ่งเรืองกิจ ให้พรรคกู้เงิน คดีนี้อยู่ในอำนาจศาลรัฐธรรมนูญ ซึ่งการแก้ไขอำนาจหน้าที่ศาลสามารถทำได้ผ่านการแก้ไขรัฐธรรมนูญเท่านั้น แต่ต้องทำประชามติก่อน และศาลรัฐธรรมนูญเองยังมีอำนาจวินิจฉัยข้อเสนอชี้ขาดได้ด้วย