กลุ่มราษฎรยกเลิก 112 พบ รมต.ยุติธรรม เรียกร้องสิทธิผู้ต้องขัง และนิรโทษกรรมนักโทษการเมือง
อ่าน

กลุ่มราษฎรยกเลิก 112 พบ รมต.ยุติธรรม เรียกร้องสิทธิผู้ต้องขัง และนิรโทษกรรมนักโทษการเมือง

กลุ่มคณะราษฎรยกเลิก 112 รวมตัวกันเดินขบวนไปยังกระทรวงยุติธรรมยื่นเสนอข้อเรียกร้องให้มีการนิรโทษกรรมนักโทษการเมืองแก่ พ.ต.อ.ทวี สอดส่อง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม
ย้อนดูจุดยืนพรรคการเมืองที่ได้เข้าสภาฯ ปี 2566 ต่อประเด็น “นิรโทษกรรม” คดีความทางการเมือง
อ่าน

ย้อนดูจุดยืนพรรคการเมืองที่ได้เข้าสภาฯ ปี 2566 ต่อประเด็น “นิรโทษกรรม” คดีความทางการเมือง

ในช่วงเทศกาลหาเสียง ตามเวทีดีเบตหรือวงเสวนาหรือแม้แต่การให้สัมภาษณ์ หลายพรรคการเมืองที่ได้เข้าสภาจากการเลือกตั้ง 2566 เคยแสดงจุดยืนในประเด็นนิรโทษกรรมคดีความทางการเมืองไว้บ้างแม้อาจยังไม่มีนโยบายชัดเจน ชวนย้อนความจำกันว่าแต่ละพรรคมีความคิดเห็นอย่างไรกันบ้าง
เลือกตั้ง 66: งานเสวนาบทเรียนจากท้องถนน “จุดยืนพรรคการเมืองต่อเสรีภาพการชุมนุมและนิรโทษกรรม”
อ่าน

เลือกตั้ง 66: งานเสวนาบทเรียนจากท้องถนน “จุดยืนพรรคการเมืองต่อเสรีภาพการชุมนุมและนิรโทษกรรม”

เสวนาในหัวข้อบทเรียนจากท้องถนน: พรรคการเมืองกับนโยบายเสรีภาพการชุมนุม มีการเชิญชวนพรรคการเมืองมาร่วมพูดคุยถึงประเด็นด้านเสรีภาพในการชุมนุมของประชาชน และนโยบายเกี่ยวกับการชุมนุมที่แต่ละพรรคตั้งใจนำเสนอ
ชวนแสดงความเห็น ข้อเสนอนิรโทษกรรม การชุมนุม ตั้งแต่ 49-65 ไม่รวมทุจริต ไม่รวม112
อ่าน

ชวนแสดงความเห็น ข้อเสนอนิรโทษกรรม การชุมนุม ตั้งแต่ 49-65 ไม่รวมทุจริต ไม่รวม112

เว็บไซต์รัฐสภา เปิดรับฟังความคิดเห็นร่างพ.ร.บ.สร้างเสริมสังคมสันติสุข ซึ่งร่างฉบับนี้จะยกเว้นความผิดให้กับผู้ชุมนุมหรือแสดงออกทางการเมือง หรือที่เข้าใจกันว่า เป็นการออกกฎหมาย "นิรโทษกรรม" นั่นเอง โดยร่างนี้รวมการกระทำตั้งแต่ปี 2549 ไม่รวมการทำให้ผู้อื่นเสียชีวิต และไม่รวมคดีมาตรา112
ย้อนดูกฎหมายนิรโทษกรรมของไทย 23 ฉบับ เว้นโทษให้คณะรัฐประหารไปแล้วถึง 11 ครั้ง
อ่าน

ย้อนดูกฎหมายนิรโทษกรรมของไทย 23 ฉบับ เว้นโทษให้คณะรัฐประหารไปแล้วถึง 11 ครั้ง

ประเทศไทย เคยออกกฎหมายเพื่อนิรโทษกรรมเหตุการณ์ทางการเมืองอย่างน้อย 23 ครั้ง ในจำนวนนั้น 11 ครั้งเป็นการนิรโทษกรรมแก่บรรดาคณะรัฐประหารที่เข้ามายึดอำนาจ ชวนย้อนดูประวัติศาสตร์การนิรโทษกรรมของประเทศไทยว่าตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา ถูกนำไปใช้ในเรื่องใดบ้าง
จากรัฐประหารถึงจัดการวัคซีน : รัฐบาลพล.อ.ประยุทธ์ ยกเว้นความผิด จนเป็นปกติ?
อ่าน

จากรัฐประหารถึงจัดการวัคซีน : รัฐบาลพล.อ.ประยุทธ์ ยกเว้นความผิด จนเป็นปกติ?

คณะรัฐมนตรีกำลังจะเสนอร่างแก้ไข พ.ร.บ.โรคติดต่อ โดยมีบทยกเว้นความรับผิดให้เจ้าหน้าที่ ท่ามกลางกระแสข่าวการพยายามนิรโทษกรรมผู้มีอำนาจตัดสินใจเรื่องวัคซีน ซึ่งการเสนอและออกกฎหมายเพื่อยกเว้นความรับผิดเป็นเครื่องมือหลักที่รัฐบาลพล.อ.ประยุทธ์ ใช้มาตั้งแต่การทำรัฐประหาร 2557
สรุปร่างรัฐธรรมนูญ: รัฐธรรมนูญผ่าน คสช.ยังอยู่ต่อเบื้องหน้าและเบื้องหลัง
อ่าน

สรุปร่างรัฐธรรมนูญ: รัฐธรรมนูญผ่าน คสช.ยังอยู่ต่อเบื้องหน้าและเบื้องหลัง

แม้ว่าร่างรัฐธรรมนูญมีชัยจะผ่านการออกเสียงประชามติ ในเบื้องหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) ยังจะอยู่กับเราอย่างน้อยก็ 15 เดือน และในเบื้องหลังบรรดาประกาศ/คำสั่ง และวุฒิสภาจากการแต่งตั้งโดย คสช.ยังอยู่หลังจากเลือกตั้ง
มีอะไรใน รัฐ/ธรรมนูญชั่วคราว ฉบับ คณะรัฐประหาร
อ่าน

มีอะไรใน รัฐ/ธรรมนูญชั่วคราว ฉบับ คณะรัฐประหาร

การรัฐประหารและยกเลิกรัฐธรรมนูญ ในอดีตก็จะตามมาด้วยการออกรัฐธรรมนูญฉบับชั่วคราวขึ้นใช้เอง iLaw ชวนทุกคนเปรียบเทียบผ่านรธน.ชั่วคราวในอดีตเพื่อมองอนาคต 
คุณคัดค้านนิรโทษกรรมแบบไหน?
อ่าน

คุณคัดค้านนิรโทษกรรมแบบไหน?

ใครๆ ก็พูดเป็นเสียงเดียวกันว่า ต้องออกมาคัดค้านพ.ร.บ.นิรโทษกรรม หลายคนตัดสินใจออกมาชุมนุมกับกลุ่มต่างๆ มีไม่น้อยที่แสดงออกผ่านทางโซเชียลมีเดียโดยเปลี่ยนภาพในเฟซบุคขึ้นข้อความ “คัดค้าน พ.ร.บ.นิรโทษกรรม” บรรยากาศการเมืองในจังหวะนี้ เรียกได้ว่า แม้แต่คนที่คิดต่างกันเรื่องการเมืองตลอดมา ต่างก็หันมาพูดเรื่องเดียวกัน อย่างไรก็ดี ภายใต้การคัดค้านเหมือนกัน แต่เหตุผลของแต่ละฝ่ายก็แตกต่างกันอยู่มาก ลองสำรวจตัวคุณเองว่า คุณเชื่อแบบไหน และสอดคล้องกับกลุ่มใด
ญาติผู้เสียหายฯ ปรับร่าง พรบ.นิรโทษกรรม ขยายฐานนิรโทษกรรมให้ผู้ชุมนุม
อ่าน

ญาติผู้เสียหายฯ ปรับร่าง พรบ.นิรโทษกรรม ขยายฐานนิรโทษกรรมให้ผู้ชุมนุม

ญาติผู้เสียหาย เปิดรับฟังความเห็นร่างพ.ร.บ.นิรโทษกรรม พร้อมนำไปปรับแก้ใหม่ นิรโทษกรรมให้ความผิดทุกประเภทไม่จำกัดเฉพาะความผิดต่อความมั่นคง นิรโทษกรรมความผิดต่อทรัพย์สินเอกชน และความผิดที่มีโทษจำคุกไม่เกินสามปี พร้อมย้ำเจตนาไม่นิรโทษกรรมให้ทหาร-คนสั่งการ