6 เรื่องตลกร้ายของรัฐธรรมนูญ 2560
อ่าน

6 เรื่องตลกร้ายของรัฐธรรมนูญ 2560

รัฐธรรมนูญ 2560 คือรัฐธรรมนูญปัจจุบันของประเทศไทย เป็นฉบับที่ 20 จัดทำโดย คสช. บังคับใช้ตั้งแต่ 6 เม.ย. 60 นับถือ 10 ธ.ค. 61 เป็นเวลาประมาณ 1 ปี 9 เดือนที่รัฐธรรมนูญบังคับใช้ เนื่องในวันรัฐธรรมนูญปี 2561 ไอลอว์รวบรวมเรื่องราวตลกร้ายที่อยากจะขำแต่ขำไม่ออกเกี่ยวกับรัฐธรรมนูญฉบับนี้มาให้ทราบกัน
ปลดล็อคพรรคการเมืองคืออะไร ถ้าไม่ปลดล็อคแล้วจะทำไม
อ่าน

ปลดล็อคพรรคการเมืองคืออะไร ถ้าไม่ปลดล็อคแล้วจะทำไม

คำว่า ‘ปลดล็อคพรรคการเมือง’ เกิดขึ้นหลังพรรคการเมืองหลายต่อหลายพรรคร่วมกันจี้ รัฐบาล คสช. ให้ยกเลิกคำสั่ง-ประกาศ คสช. บางฉบับ ที่ขัดขวางการดำเนินการตามกฎหมายพรรคการเมืองฉบับใหม่ ส่วนสำคัญอย่างไร ถ้าไม่ปลดล็อคจะเกิดอะไรขึ้น คำตอบก็คือ เพื่อให้พรรคการเมืองได้ดำเนินการตามกฎหมาย ไม่ต้องเสี่ยงหมดสิทธิส่ง ส.ส. ลงสมัคร หรือไม่ได้รับเงินสนับสนุนในการแข่งขันทางการเมือง
รัฐธรรมนูญ 2560 ให้เรามีส่วนร่วมเรื่องอะไรได้บ้าง
อ่าน

รัฐธรรมนูญ 2560 ให้เรามีส่วนร่วมเรื่องอะไรได้บ้าง

รัฐธรรมนูญ ฉบับปัจจุบัน เขียนคำว่า “มีส่วนร่วม” ไว้ถึง 22 ครั้ง รวมทั้งบังคับใช้รัฐต้องรับฟังประชาชนและให้มีส่วนร่วมด้วยในหลายประเด้น ในความเป็นจริงประชาชนส่วนใหญ่ก็ยังไม่ค่อยรู้ว่า ตัวเองมีสิทธิที่จะเข้าไปมีส่วนร่วมในเรื่องใดบ้าง
ขั้นตอนการเข้าชื่อเสนอกฎหมายประชาชน
อ่าน

ขั้นตอนการเข้าชื่อเสนอกฎหมายประชาชน

เมื่อรัฐธรรมนูญ 2560 บังคับใช้ เท่ากับเป็นการเริ่มต้นอีกครั้งของ “สิทธิการเข้าชื่อเสนอกฎหมาย” โดยประชาชน หลังจากสิทธินี้ถูกระงับไปกว่าสามปีที่ คสช. เข้ามาบริหารประเทศ รัฐธรรมนูญกำหนดรายละเอียดให้เปลี่ยนไปเล็กน้อย ส่วนสาระสำคัญยังเหมือนเดิม
10 กลไกตามรัฐธรรมนูญ ที่ส่อทำให้การเลือกตั้งไร้ความหมาย
อ่าน

10 กลไกตามรัฐธรรมนูญ ที่ส่อทำให้การเลือกตั้งไร้ความหมาย

กลไกใหม่ๆ ตามรัฐธรรมนูญ 2560 เช่น กฎหมายพรรคการเมือง การนับที่นั่งส.ส. กลไกลนายกฯคนนอก ฯลฯ หากถูกนำมาใช้ประกอบกันในเงื่อนไขและจังหวะเวลาที่ถูกต้อง อาจทำให้ คสช. สามารถควบคุมผลการเลือกตั้งครั้งหน้าได้ และทำให้การเลือกตั้งที่กำลังจะเกิดขึ้นไม่มีความหมาย
รัฐธรรมนูญ2560: ประชาชนหนึ่งหมื่นคนสามารถเข้าชื่อเสนอกฎหมายได้
อ่าน

รัฐธรรมนูญ2560: ประชาชนหนึ่งหมื่นคนสามารถเข้าชื่อเสนอกฎหมายได้

รัฐธรรมนูญ2560 ก็ระบุ ให้ประชาชนมีสิทธิและมีส่วนร่วมทางการเมืองผ่านการเข้าชื่อเสนอกฎหมายด้วยเช่นกัน ใช้เพียง 10,000 คน เสนอได้
รัฐธรรมนูญฉบับประชามติ VS ฉบับประกาศใช้หลังพระราชกระแสรับสั่ง
อ่าน

รัฐธรรมนูญฉบับประชามติ VS ฉบับประกาศใช้หลังพระราชกระแสรับสั่ง

6 เมษายน 2560 เป็นวันแรกที่รัฐธรรมนูญฉบับที่ 20 ประกาศใช้อย่างเป็นทางการ รัฐธรรมนูญฉบับนี้ถูกแก้ไขจากร่างฉบับที่ลงประชามติทั้งหมด 7 มาตราด้วยกัน คือ มาตรา 5 หมวดทั่วไป มาตรา 12 15 16 17 19 หมวดพระมหากษัตริย์ และมาตรา 182 หมวดคณะรัฐมนตรี 
7 เรื่องต้องรู้: อ่าน “รัฐธรรมนูญ 2560” ฉบับเร่งรัด
อ่าน

7 เรื่องต้องรู้: อ่าน “รัฐธรรมนูญ 2560” ฉบับเร่งรัด

วันนี้ถือเป็นวันที่ “รัฐธรรมนูญ 2560” จะมีการประกาศใช้และกลายเป็นกฎหมายสูงสูงของประเทศโดยสมบูรณ์ ดังนั้น จึงพลาดไม่ได้ที่จะต้องอ่านทวนซ้ำๆ ว่าอะไรคือสาระสำคัญของรัฐธรรมนูญฉบับนี้บ้าง
เส้นทางการร่างรัฐธรรมนูญคสช.: ผ่านประชามติ แก้เพิ่มอีก 4 ครั้ง
อ่าน

เส้นทางการร่างรัฐธรรมนูญคสช.: ผ่านประชามติ แก้เพิ่มอีก 4 ครั้ง

นับถึง 6 เม.ย. 60 เกว่า 2 ปี 8 เดือน คสช.ใช้เวลาในการร่างรัฐธรรมนูญฉบับถาวร โดยมีกรรมาการร่าง 2 ชุด มีร่างรัฐธรรมนูญ 2 ฉบับ มีการออกเสียงประชามติ 1 ครั้ง มีการแก้ไขร่างรัฐธรรมนูญที่ผ่านประชามติ 4 ครั้ง และมีผู้ถูกดำเนินคดีเกี่ยวกับประชามติอย่างน้อย 195 คน ทั้งหมดคือสิ่งที่เกิดขึ้นก่อนจะมีรัฐธรรมนูญ 2560
“ม.77” หลังประกาศใช้รธน.ใหม่ เปิดช่องพิจารณากฎหมายต้องรับฟังความคิดเห็นและศึกษาผลกระทบ
อ่าน

“ม.77” หลังประกาศใช้รธน.ใหม่ เปิดช่องพิจารณากฎหมายต้องรับฟังความคิดเห็นและศึกษาผลกระทบ

เมื่อร่างรัฐธรรมนูญ ฉบับผ่านประชามติ 2559  ประกาศใช้ขั้นตอนในการออกกฎหมายของ สนช. จะมีการเปลี่ยนแปลงไปเพราะ ในมาตรา 77 วรรคสอง ได้กำหนดให้ "ก่อนการตรากฎหมายทุกฉบับ รัฐพึงจัดให้มีการรับฟังความคิดเห็นของผู้เกี่ยวข้อง  วิเคราะห์ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากกฎหมายอย่างรอบด้านและเป็นระบบ รวมทั้งเปิดเผย ผลการรับฟังความคิดเห็นและการวิเคราะห์นั้นต่อประชาชน และนำมาประกอบการพิจารณา ในกระบวนการตรากฎหมายทุกขั้นตอน"