เปิดรายชื่อ ส.ว. ที่ลงมติ “ไม่รับหลักการ” ร่างรัฐธรรมนูญเพื่อยกเลิกกลไกสืบทอดอำนาจ คสช.
อ่าน

เปิดรายชื่อ ส.ว. ที่ลงมติ “ไม่รับหลักการ” ร่างรัฐธรรมนูญเพื่อยกเลิกกลไกสืบทอดอำนาจ คสช.

ภายใต้รัฐธรรมนูญ ปี 2560 มีเงื่อนไขสำคัญประการหนึ่งว่า ร่างแก้รัฐธรรมนูญที่ผ่านความเห็นชอบจากสภา จะต้องได้รับเสียงเห็นชอบจากสมาชิกวุฒิสภา (ส.ว.) ไม่น้อยกว่า 1 ใน 3 ทั้งในวาระที่หนึ่งชั้นรับหลักการ และในวาระที่สามชั้นเห็นชอบประกาศใช้เป็นกฎหมาย ดังนั้น การลงมติของ ส.ว. จึงเป็นจุดชี้ชะตาของร่างแก้รัฐธรรมนูญแต่ละฉบับ ซึ่งจากการดูผลการลงมติร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญในวาระที่หนึ่งตลอดทั้งสามครั้ง พบว่า มี ส.ว. บางคน ที่เป็นองค์รักษ์พิทักษ์กลไกสืบทอดอำนาจของคสช. อย่างสุดลิ่มทิ่มประตู
เทียบผลลงมติของ ส.ว. สามภาค  ยิ่งนานยิ่งเสียงไม่แตก ปกป้องอำนาจตัวเอง
อ่าน

เทียบผลลงมติของ ส.ว. สามภาค ยิ่งนานยิ่งเสียงไม่แตก ปกป้องอำนาจตัวเอง

ตั้งแต่มีการประกาศใช้รัฐธรรมนูญ 2560 มีความพยายามแก้ไขทั้งหมดสามภาค คือ มีการเสนอและเปิดการประชุมของรัฐสภาเพื่อพิจารณาลงมติกันแล้วทั้งหมดสามครั้ง ชวนดูบทวิเคราะห์การลงมติของส.ว.ทั้งสามภาค ดังนี้ 
รวมเสียง ส.ว. ค้าน “รื้อระบอบประยุทธ์”​ ค้าน “สภาเดี่ยว”
อ่าน

รวมเสียง ส.ว. ค้าน “รื้อระบอบประยุทธ์”​ ค้าน “สภาเดี่ยว”

วันที่ 16 พฤศจิกายน 2564 มีกำหนดการประชุมรัฐสภา พิจารณาร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญ "รื้อระบอบประยุทธ์" หนึ่งในข้อเสนอ คือ การใช้ "สภาเดี่ยว" ยกเลิกส.ว. เป็นวันที่สมาชิกวุฒิสภาอภิปรายน่าสนใจหลายคน ยังมีทั้งที่คัดค้านชัดเจน และคัดค้านแบบ "อ้อมๆ"​
ไอติม-ปิยบุตร นำเสนอสภาเดี่ยวรื้อ “ระบอบประยุทธ์”
อ่าน

ไอติม-ปิยบุตร นำเสนอสภาเดี่ยวรื้อ “ระบอบประยุทธ์”

วันที่ 16 พฤศจิกายน 2564 มีกำหนดการประชุมรัฐสภา ที่จะนำร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญ ฉบับที่เสนอโดยภาคประชาชน เข้าสู่การพิจารณา ร่างฉบับนี้มีชื่อเล่นว่าร่าง "รื้อระบอบประยุทธ์" มี ไอติม พริษฐ์, ปิยบุตร, ณัชปกร iLaw, ลูกเกด ชลธิชา และจักรินทร์ เป็นตัวแทนผู้เสนอร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญทำหน้าที่ชี้แจงร่างต่อสภา
เสียงเพื่อ #สมรสเท่าเทียม : ช้าง-เบิร์ด ทำงานและเสียภาษีแต่ไม่ได้รับสิทธิ ไม่ใช่เรื่องจารีต แต่เป็นความไม่เท่าเทียม
อ่าน

เสียงเพื่อ #สมรสเท่าเทียม : ช้าง-เบิร์ด ทำงานและเสียภาษีแต่ไม่ได้รับสิทธิ ไม่ใช่เรื่องจารีต แต่เป็นความไม่เท่าเทียม

ก่อนศาลรัฐธรรมนูญจะมีมติว่าประมวลกฎหมายฯ ขัดต่อรัฐธรรมนูญหรือไม่ ในวันที่ 17 พ.ย. 2564 ชวนรับฟังเสียงจาก “เบิร์ด” และ “ช้าง” คู่รักที่คบกันมานานถึง 15 ปี ใช้ชีวิตร่วมกัน ทำงาน จ่ายภาษี แต่ยังไร้กฎหมายที่จะมารับรองสนับสนุนสิทธิเสรีภาพของพวกเขา
แก้รัฐธรรมนูญภาคสาม: เปิดสามเหตุผล “ยกเลิก ส.ว.-เดินหน้า สภาเดี่ยว”
อ่าน

แก้รัฐธรรมนูญภาคสาม: เปิดสามเหตุผล “ยกเลิก ส.ว.-เดินหน้า สภาเดี่ยว”

16-17 พฤศจิกายน 2564 ที่ประชุมร่วมกันของรัฐสภามีนัดพิจารณาและลงมติร่างรัฐธรรมนูญฉบับ "รื้อระบอบประยุทธ์" ที่นำโดยกลุ่ม Resolution โดยร่างรัฐธรรมนูญฉบับนี้มีสาระสำคัญ คือ การยกเลิกวุฒิสภาแล้วกลับไปใช้ระบบ "สภาเดี่ยว" หรือ ให้เหลือแต่สภาผู้แทนราษฎรทำหน้าที่ฝ่ายนิติบัญญัติ
เสียงเพื่อ #สมรสเท่าเทียม : เตย-แคลร์ มากกว่าสิทธิ คือการสร้างความตระหนักรู้และพื้นที่ปลอดภัย
อ่าน

เสียงเพื่อ #สมรสเท่าเทียม : เตย-แคลร์ มากกว่าสิทธิ คือการสร้างความตระหนักรู้และพื้นที่ปลอดภัย

เสียงจาก “เตย-แคลร์” คู่รักต่างสัญญาติ ที่จะมาบอกเล่าเรื่องราวความสัมพันธ์และความกังวลต่างๆ ภายใต้สังคมที่ยังไม่มีกฎหมายมารับรองสถานะเฉกเช่นเดียวกันกับคู่รักชาย-หญิงทั่วไป ก่อนศาลรัฐธรรมนูญมีมติในวันที่ 17 พ.ย. 2564 ว่าประมวลกฎหมายแพ่งฯ ขัดต่อรัฐธรรมนูญหรือไม่
มีลุ้น #สมรสเท่าเทียม นักวิชาการคาด ศาลรธน.อาจชี้ทางแก้กฎหมายแพ่ง ปลดล็อกข้อจำกัดสมรสเฉพาะชาย-หญิง
อ่าน

มีลุ้น #สมรสเท่าเทียม นักวิชาการคาด ศาลรธน.อาจชี้ทางแก้กฎหมายแพ่ง ปลดล็อกข้อจำกัดสมรสเฉพาะชาย-หญิง

อานนท์ มาเม้า และเข็มทองต้นสกุลรุ่งเรือง วิเคราะห์คำตัดสินของศาลรัฐธรรมนูญ เนื่องในโอกาสที่ 17 พ.ย. 2564 ศาลรัฐธรรมนูญจะลงมติครั้งประวัติศาสตร์ ว่าประมวลกฎหมายแพ่งฯ มาตรา 1448 ที่กำหนดการสมรสเฉพาะชาย-หญิง ขัดต่อรัฐธรรมนูญหรือไม่ อันอาจนำไปสู่ #สมรสเท่าเทียม  
ส่องนานาชาติ ทำยุทธศาสตร์อย่างไรให้เป็นประชาธิปไตย
อ่าน

ส่องนานาชาติ ทำยุทธศาสตร์อย่างไรให้เป็นประชาธิปไตย

แม้ยุทธศาสตร์ชาติของไทยดูจะมีภาพลักษณ์ในการสืบทอดอำนาจมากกว่า แต่ก็มีตัวอย่างจากต่างประเทศมากมายที่แสดงให้เห็นถึงการมียุทธศาสตร์ชาติที่เป็นประชาธิปไตย มีการตรวจสอบและทบทวนจากหลากหลายภาคส่วน และวางรากฐานสู่อนาคตอย่างแท้จริง
3 ปัญหาทางกฎหมาย ใน “วิธีวินิจฉัย” ก่อนสั่ง อานนท์-ไมค์-รุ้ง ล้มล้างการปกครองฯ
อ่าน

3 ปัญหาทางกฎหมาย ใน “วิธีวินิจฉัย” ก่อนสั่ง อานนท์-ไมค์-รุ้ง ล้มล้างการปกครองฯ

ก่อนจะมาถึงข้อวิเคราะห์ให้การชุมนุมเป็นการล้มล้างระบอบการปกครองฯ และคำสั่งห้ามกระทำการลักษณะเดิมอีก วิธีพิจารณาคดีและทำคำสั่งของศาลรัฐธรรมนูญมีข้อสงสัยและปัญหาในทางกฎหมายที่ต้องพิจารณาหลายประการ