กรรมาธิการพาณิชย์ฯ ส.ว. เสนอ ไทยเข้าร่วม CPTPP ฟื้นเศรษฐกิจหลังโควิด
อ่าน

กรรมาธิการพาณิชย์ฯ ส.ว. เสนอ ไทยเข้าร่วม CPTPP ฟื้นเศรษฐกิจหลังโควิด

6 ตุลาคม 2564 คณะกรรมาธิการพาณิชย์และการอุตสาหกรรม (กมธ.พาณิชย์ฯ) วุฒิสภา ส่งข้อเสนอให้กับนายกรัฐมนตรี เร่งรัดให้ไทยเริ่มกระบวนการขอเจรจาเข้าเป็นภาคีความตกลงที่ครอบคลุมและก้าวหน้าสำหรับหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจภาคพื้นแปซิฟิก (CPTPP) 
กิจกรรม Talk ด้วยกัน 112
อ่าน

กิจกรรม Talk ด้วยกัน 112

ในวันที่ยอดผู้ถูกดำเนินคดีมาตรา 112 สูงที่สุด เราขอเปิดพื้นที่ให้กับคนที่มีเรื่องอยากจะพูดมาร้อยเรียงสร้าง Talk ที่สมบูรณ์ที่สุดด้วยเหตุผล ข้อมูล และวิธีการนำเสนอ ไม่ว่าจะ แก้ไข-ยกเลิก-สนับสนุน เห็นอย่างไรก็ให้ “กล้าที่จะคิด" "กล้าที่จะพูด"
แจกแจงประเด็นจากคำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญ ไม่สนข้อกฎหมาย ไม่เข้าใจ #สมรสเท่าเทียม
อ่าน

แจกแจงประเด็นจากคำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญ ไม่สนข้อกฎหมาย ไม่เข้าใจ #สมรสเท่าเทียม

2 ธ.ค. 2564 เว็บไซต์ศาลรัฐธรรมนูญเผยแพร่คำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญที่ 20/2564 ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ป.พ.พ.) มาตรา 1448 ที่รับรองการสมรสเฉพาะชาย-หญิง ไม่ขัดต่อรัฐธรรมนูญ ชวนชำแหละเนื้อหาคำวินิจฉัยฉบับเต็ม ดูร่องรอยทัศนะคติของตุลาการที่มีต่อประชาชนเพศหลากหลาย
เปิดข้อเสนอภาคประชาชน แก้ประมวลกฎหมายแพ่งฯ เดินหน้าผลักดัน #สมรสเท่าเทียม
อ่าน

เปิดข้อเสนอภาคประชาชน แก้ประมวลกฎหมายแพ่งฯ เดินหน้าผลักดัน #สมรสเท่าเทียม

ภาคประชาชน ในนาม “ภาคีสีรุ้งเพื่อสมรสเท่าเทียม” ได้รวมตัวกันเพื่อเสนอร่างแก้ไขประมวลกฎหมายแพ่งฯ ใช้กลไกเข้าชื่อเสนอกฎหมาย เพื่อเสนอ #สมรสเท่าเทียม ภาคประชาชน 
ศาลรธน.มีมติ “เอกฉันท์” กฎหมายแพ่งรับรองสมรสชาย-หญิง ไม่ขัดรัฐธรรมนูญ แนะตรากฎหมายรับรองสิทธิเพศหลากหลาย
อ่าน

ศาลรธน.มีมติ “เอกฉันท์” กฎหมายแพ่งรับรองสมรสชาย-หญิง ไม่ขัดรัฐธรรมนูญ แนะตรากฎหมายรับรองสิทธิเพศหลากหลาย

17 พ.ย. 64 ศาลรัฐธรรมนูญมีมติเป็น "เอกฉันท์" ว่าประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1448 ไม่ขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญ โดยมีข้อสังเกตว่ารัฐสภา คณะรัฐมนตรี และหน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้อง สมควรดำเนินการ "ตรากฎหมาย" รับรองสิทธิผู้มีความหลากหลายทางเพศต่อไป
ทวิตเตอร์ออกรายงานแนะผู้กำหนดนโยบาย อินเตอร์เน็ตต้องเป็นพื้นที่เสรี ปกป้องการแข่งขัน
อ่าน

ทวิตเตอร์ออกรายงานแนะผู้กำหนดนโยบาย อินเตอร์เน็ตต้องเป็นพื้นที่เสรี ปกป้องการแข่งขัน

ทวิตเตอร์ออกรายงาน Protecting the Open Internet: Regulatory Principlesfor Policy Makers เพื่อเป็นแนวทางสำหรับผู้กำหนดนโยบายในการออกข้อบังคับบนโลกอินเตอร์เน็ต ความท้าทายที่จำเป็นต้องได้รับการแก้ไข ในขณะที่ก็ยังปกป้องหลัก Open Internet ที่เสรีและเปิดกว้างให้กับทุกคนเอาไว้
เลือกตั้งอบต. : คุยกับเวียงรัฐ เนติโพธิ์ “การเลือกตั้งท้องถิ่นเป็นความหวังที่เราต้องผลักดันให้เกิดขึ้น”
อ่าน

เลือกตั้งอบต. : คุยกับเวียงรัฐ เนติโพธิ์ “การเลือกตั้งท้องถิ่นเป็นความหวังที่เราต้องผลักดันให้เกิดขึ้น”

ชวนคุยกับรองศาสตราจารย์เวียงรัฐ เนติโพธิ์ ถึงประเด็นสำคัญที่น่าจับตาในการเลือกตั้งท้องถิ่นที่กำลังจะเกิดขึ้น การเลือกตั้ง อบต. ที่จะถึงนี้มีความสำคัญอย่างไร อะไรคือปัญหาของการปกครองส่วนท้องถิ่นที่ผ่านมาของไทย และประชาชนจะร่วมกันพัฒนาการปกครองท้องถิ่นให้ดีขึ้นได้อย่างไร
เปิด “ร่าง พ.ร.ฎ. แพลตฟอร์มดิจิทัลฯ” บังคับบริษัทแพลตฟอร์มต้องมีตัวแทนในไทย ต้องแจ้งการทำธุรกิจ
อ่าน

เปิด “ร่าง พ.ร.ฎ. แพลตฟอร์มดิจิทัลฯ” บังคับบริษัทแพลตฟอร์มต้องมีตัวแทนในไทย ต้องแจ้งการทำธุรกิจ

พ.ร.ฎ.แพลตฟอร์มดิจิทัลฯ บังคับบริษัทแพลตฟอร์มต้องแจ้งการทำธุรกิจให้กับสำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (สพธอ. หรือ ETDA) ทราบ และต้องแต่งตั้งตัวแทนในไทยโดยไม่มีข้อจำกัดความรับผิด
แก้รัฐธรรมนูญภาคสาม: 3 เหตุผล “รื้อ” ที่มาองค์กรอิสระ
อ่าน

แก้รัฐธรรมนูญภาคสาม: 3 เหตุผล “รื้อ” ที่มาองค์กรอิสระ

องค์กรอิสระ คือ หนึ่งกลไกในการสืบทอดอำนาจ คสช. อย่างแท้จริง ที่มาขององค์กรอิสระต่างๆ ล้วนเป็นผู้ที่ได้รับการแต่งตั้งมาจากกลไกของ คสช. แทบทั้งสิ้น ทำให้หล้กการตั้งต้นตั้งแต่รัฐธรรมนูญ 2540 ที่คาดหวังว่าองค์กรอิสระเหล่านี้จะทำหน้าที่ตรวจสอบการรัฐบาลสูญสิ้นไป กลายเป็นเครื่องมือรักษาอำนาจของเผด็จการเท่านั้น