“ใบปอ” นักเคลื่อนไหวหน้าใหม่ เปิดพื้นที่ถกปฏิรูปสถาบันกษัตริย์
อ่าน

“ใบปอ” นักเคลื่อนไหวหน้าใหม่ เปิดพื้นที่ถกปฏิรูปสถาบันกษัตริย์

ไม่กี่เดือนที่ผ่านมาปรากฏการเคลื่อนไหวของกลุ่มนักกิจกรรมกลุ่มใหม่ชื่อว่า “ทะลุวัง” ซึ่งทำกิจกรรมเน้นรูปแบบสอบถามความคิดเห็นหรือโพลแบบง่ายๆ ว่า เห็นด้วยหรือไม่เห็นด้วยในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับการปฏิรูปสถาบันกษัตริย์ “ใบปอ” นักศึกษาชั้นปีที่หนึ่ง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์เป็นหนึ่งในสมาชิกกลุ่มดังกล่าว ก่อนที่จะสังกัดกลุ่ม “ทะลุวัง” เธอเริ่มเคลื่อนไหวในเดือนธันวาคม 2564 ตามสถานที่ต่างๆ เช่น ห้างสรรพสินค้าและพื้นที่
เปิดเทคนิคใหม่รัฐบาล เตะถ่วงร่างกฎหมาย ขอศึกษาก่อน 60 วัน
อ่าน

เปิดเทคนิคใหม่รัฐบาล เตะถ่วงร่างกฎหมาย ขอศึกษาก่อน 60 วัน

9 กุมภาพันธ์ 2565 สภาผู้แทนราษฎรอนุมัติให้ครม. นำร่างกฎหมายถึง 4 ฉบับ ไปศึกษาก่อนรับหลักการ 60 วัน 3 ฉบับเป็นร่างกฎหมายน่าจับตา #สุราก้าวหน้า #สมรสเท่าเทียม ร่างพ.ร.บ.ฉุกเฉินฯ ชวนดูเทคนิคใหม่รัฐบาล ในการ "ยื้อเวลา" ร่างกฎหมาย
ตำรวจนครสวรรค์ตามติด “โอ้ต” นักกิจกรรมในพื้นที่หวั่นแสดงออกช่วง “มีเสด็จ”
อ่าน

ตำรวจนครสวรรค์ตามติด “โอ้ต” นักกิจกรรมในพื้นที่หวั่นแสดงออกช่วง “มีเสด็จ”

‘โอ้ต’ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 และนักกิจกรรมสหพันธ์นักเรียนนครสวรรค์ ให้ข้อมูลว่าในช่วงวันที่ 5 – 7 กุมภาพันธ์ 2
พรรครัฐบาล “เตะถ่วง” ร่างกฎหมายของพรรคฝ่ายค้าน 3 ฉบับรวด
อ่าน

พรรครัฐบาล “เตะถ่วง” ร่างกฎหมายของพรรคฝ่ายค้าน 3 ฉบับรวด

9 กุมภาพันธ์ 2565 ที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎรมีมติให้คณะรัฐมนตรีรับร่างกฎหมาย "สุราก้าวหน้า-สถานการณ์ฉุกเฉิน-สมรสเท่าเทียม" ไปพิจารณาก่อน 60 วัน แล้วจึงส่งกลับมาพิจารณาใหม่อีกครั้ง ซึ่งมติดังกล่าว นับว่าเป็นเทคนิกใหม่ในการ "เตะถ่วง" กฎหมายของพรรครัฐบาล
สภาอนุมัติครม. เตะถ่วง #สมรสเท่าเทียม 60 วัน ด้านส.ส.ประชาชาติ ห่วงกฎหมายขัดหลักศาสนาอิสลาม
อ่าน

สภาอนุมัติครม. เตะถ่วง #สมรสเท่าเทียม 60 วัน ด้านส.ส.ประชาชาติ ห่วงกฎหมายขัดหลักศาสนาอิสลาม

9 กุมภาพันธ์ 2565 สภาผู้แทนราษฎรมีมติอนุมัติให้ครม. นำร่างพ.ร.บ.แก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งฯ #สมรสเท่าเทียม ไปศึกษาก่อนรับหลักการ 60 วัน ร่างกฎหมายดังกล่าวจึงยังไม่ได้พิจารณาในวาระหนึ่ง
สภาฯ มีมติ เปิดทางครม. ถ่วงเวลา นำร่างกฎหมายใช้แทนพ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ไปศึกษา 60 วัน
อ่าน

สภาฯ มีมติ เปิดทางครม. ถ่วงเวลา นำร่างกฎหมายใช้แทนพ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ไปศึกษา 60 วัน

9 กุมภาพันธ์ 2565 สภาผู้แทนราษฎร เห็นด้วยอนุมัติให้ครม. ถ่วงเวลา นำร่างพ.ร.บ.ฉุกเฉินฯ ไปศึกษาก่อนรับหลักการ 227 เสียง ไม่เห็นด้วย 157 เสียง งดออกเสียง 10 เสียง ไม่ลงคะแนนเสียง 0 เสียง เป็นอันว่าครม. สามารถนำร่างกฎหมายดังกล่าวไปศึกษาก่อน 60 วัน 
อนาคตคราฟท์เบียร์ไทย ภายใต้ พ.ร.บ.สุราก้าวหน้า
อ่าน

อนาคตคราฟท์เบียร์ไทย ภายใต้ พ.ร.บ.สุราก้าวหน้า

9 กุมภาพันธ์ 2565 สภาผู้แทนราษฎรมติให้ส่งร่าง พ.ร.บ.สุราก้าวหน้า ไปให้คณะรัฐมนตรีพิจารณาก่อน 60 วัน ก่อนจะส่งกลับมาให้สภาพิจารณาอีกครั้ง โดยร่างกฎหมายดังกล่าว พยายามจะเปิดทางให้ผู้ประกอบการรายย่อยที่ต้องการผลิตสุราสามารถแข่งขันในตลาดได้ รวมถึงเปิดโอกาสให้ผู้บริโภคที่ต้องการต้มเบียร์กินเองสามารถทำได้โดยไม่ผิดกฎหมาย
เปิดสถิติ “สภาอับปาง” ล่ม 15 ครั้งภายใน 3 ปี ยิ่งรัฐบาลขัดแย้ง ยิ่งล่มบ่อย
อ่าน

เปิดสถิติ “สภาอับปาง” ล่ม 15 ครั้งภายใน 3 ปี ยิ่งรัฐบาลขัดแย้ง ยิ่งล่มบ่อย

สภาที่มาจากการเลือกตั้งชุดแรกภายใต้รัฐธรรมนูญ 2560 ประสบปัญหา "สภาล่ม" อยู่บ่อยครั้ง นับตั้งแต่การเลือกตั้งในเดือนมีนาคม 2562 จนถึงวันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2565 การประชุมสภาผู้แทนราษฎรและการประชุมรัฐสภา "ล่ม" ไปแล้วรวมกันถึง 15 ครั้ง ย้อนดูสถิติสภาล่มที่แสดงให้เห็นถึงความเปลี่ยนแปลงทางการเมือง โดยเฉพาะในขั้วรัฐบาล
สภาล่มคืออะไร? ตอบคำถามคาใจสภาอับปาง
อ่าน

สภาล่มคืออะไร? ตอบคำถามคาใจสภาอับปาง

นับตั้งแต่สภาชุดปัจจุบันที่มาจากการเลือกตั้งเข้าทำหน้าที่ในช่วงต้นปี 2562 เกิดเหตุการณ์ “สภาล่ม” ไปแล้วถึง 15 ครั้ง และยิ่งในช่วงที่รัฐบาลภายใต้การนำของพรรคพลังประชารัฐกำลังสั่นคลอนจากปัญหาความขัดแย้งภายในพรรค เหตุการณ์สภาล่มก็ยิ่งเกิดถี่ขึ้นเรื่อย ๆ ชวนทำความรู้จักว่าสภาล่มคืออะไร การไม่แสดงตนคืออะไร ฝ่ายค้านใช้สภาล่มได้อย่างไร และผลของสภาล่มคืออะไร
พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ: กรุงเทพฯสีฟ้า นำร่องท่องเที่ยว จัดชุมนุมได้ ถ้าไม่ใช่แออัด หรือก่อความไม่สงบ
อ่าน

พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ: กรุงเทพฯสีฟ้า นำร่องท่องเที่ยว จัดชุมนุมได้ ถ้าไม่ใช่แออัด หรือก่อความไม่สงบ

นับตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2565 ถึงวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2565 มีการจัดชุมนุมสาธารณะอย่างน้อย 10 ครั้งในพื้นที่กรุงเทพมหานคร แทบทุกครั้งตำรวจและฝ่ายความมั่นคงยังพระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548 หรือ พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ เพื่อห้ามไม่ให้มีการชุมนุม โดยอ้างว่าก่อให้เกิดความเสี่ยงต่อการแพร่โรค และนำไปสู่ปฏิบัติการปิดกั้นขัดขวางการใช้เสรีภาพในการชุมนุมของประชาชน อย่างไรก็ดี ตามคำสั่ง ศบค.