เทียบไทม์ไลน์ การ “เจาะ” ของเพกาซัส กับการชุมนุมทางการเมือง
อ่าน

เทียบไทม์ไลน์ การ “เจาะ” ของเพกาซัส กับการชุมนุมทางการเมือง

จากรายงานการสืบสวนพบว่า ระหว่างปี 2563-2564 มีการใช้สปายแวร์เฟาซัสเจาะโทรศัพท์ของนักกิจกรรม นักวิชาการและนักการเมืองอย่างน้อย 35 คน
ไอลอว์เปิดรายงาน “ปรสิตติดโทรศัพท์” การใช้เพกาซัสสปายแวร์ล้วงข้อมูลประชาชน
อ่าน

ไอลอว์เปิดรายงาน “ปรสิตติดโทรศัพท์” การใช้เพกาซัสสปายแวร์ล้วงข้อมูลประชาชน

18 กรกฎาคม 2565 โครงการอินเทอร์เน็ตเพื่อกฎหมายประชาชน หรือ ไอลอว์ ร่วมกับ ดิจิทัลรีช(DigitalReach) และเดอะซิตีเซนแล็บ (The Citizen Lab) ได้เผยแพร่รายงานข้อค้นพบการใช้ “สปายแวร์(Spyware)” หรือโปรแกรมโจรกรรมข้อมูลกับประชาชน ในชื่อ “ปรสิตติดโทรศัพท์: ปฏิบัติการสอดส่องผู้เห็นต่างด้วยสปายแวร์เพกาซัสในประเทศไทย” ในรายงานข้อค้นพบการใช้เพกาซัสสปายแวร์ระบุว่า เพกาซัสนับได้ว่าเป็นอาวุธสอดแนมทางไซเบอร์ที่ก้าวหน้าที่สุดในโลก ซึ่งถูกพบแล้วว่าถูกเอามาใช้กับคนไทยที่เห็นต่างจากรัฐ โดยเหยื่อหลายคนได้รับการเตือนจากบริษัท แอ
รู้จักกับเพกาซัส อาวุธไซเบอร์ที่ร้ายแรงที่สุดในโลก เครื่องมือของรัฐการล้วงข้อมูลคนเห็นต่าง
อ่าน

รู้จักกับเพกาซัส อาวุธไซเบอร์ที่ร้ายแรงที่สุดในโลก เครื่องมือของรัฐการล้วงข้อมูลคนเห็นต่าง

รวม 5 เรื่องที่ต้องรู้เกี่ยวกับเพกาซัส   1.
สรุปเสวนา “Thailand: ดินแดนแห่งความหลากหลายด้านปฏิบัติการสอดส่องโดยรัฐ”
อ่าน

สรุปเสวนา “Thailand: ดินแดนแห่งความหลากหลายด้านปฏิบัติการสอดส่องโดยรัฐ”

มูลนิธิผสานวัฒนธรรม (CrCF) ร่วมกับสมาคมผู้สื่อข่าวต่างประเทศแห่งประเทศไทย (FCCT) จัดงานเสวนาเนื่องในวาระครบรอบสองปี 4 มิถุนายน 2563 การถูกบังคับสูญหายของวันเฉลิม สัตย์ศักดิ์สิทธิ์ เพื่อแลกเปลี่ยนรูปแบบและแนวปฏิบัติของเจ้าหน้าที่รัฐในการติดตามคุกคามนักเคลื่อนไหวทางการเมือง ไปจนถึงวิเคราะห์สถานการณ์เพื่อร่วมกันหาแนวทางป้องกันและข้อเสนอแนะต่อไปในอนาคต
บทเรียนจากการสอดส่องประชาชนในต่างประเทศ: เมื่อรัฐลุแก่อำนาจและทำลายเศรษฐกิจดิจิทัล
อ่าน

บทเรียนจากการสอดส่องประชาชนในต่างประเทศ: เมื่อรัฐลุแก่อำนาจและทำลายเศรษฐกิจดิจิทัล

หลายครั้งเวลาเกิดปัญหา เราสามารถที่จะเรียนรู้จากอดีตหรือมิตรสหายได้ ทั้งนี้ เมื่อประเทศไทยกำลังจะมี "กฎหมายสอดส่อง" จึงต้องขอยกบทเรียนจากต่างประเทศมาพิสูจน์ให้เห็นว่า อำนาจจากกฎหมายดังกล่าวกำลังก่อให้เกิดปัญหาอย่างไร และคุ้มค่าแล้วหรือไม่
หมายศาลก็ยังไม่พอ!: ต่อประเด็นถกเถียง “ชุดกฎหมายความมั่นคงดิจิทัล”
อ่าน

หมายศาลก็ยังไม่พอ!: ต่อประเด็นถกเถียง “ชุดกฎหมายความมั่นคงดิจิทัล”

กระแสคัดค้าน "ชุดกฎหมายความมั่นคงดิจิทัล" ทำให้ผู้ร่างกฎหมายยืนยันว่าจะมีการแก้ไข และยังย้ำว่าร่างกฎหมายนี้จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องออกในช่วงเวลานี้ ต่อประเด็นข้างต้น iLaw จึงขอนำประเด็นถกเถียงที่เกิดขึ้นมาตอบ เพื่อสร้างข้อถกเถียงใหม่ที่จะเป็นประโยชน์ต่ออนาคตของ "ชุดกฎหมายความมั่งคงดิจิทัล" ต่อไป
ความน่ากังวลบางประการต่อร่าง พ.ร.บ. ความมั่นคงไซเบอร์ฯ
อ่าน

ความน่ากังวลบางประการต่อร่าง พ.ร.บ. ความมั่นคงไซเบอร์ฯ

ร่างพ.ร.บ.ความมั่นคงไซเบอร์ฯ เป็นหนึ่งใน "ชุดกฎหมายความมั่นคงดิจิทัล 10+3 ฉบับ" ซึ่งร่างกฎหมายฉบับนี้ให้อำนาจเจ้าหน้าที่เข้าถึงข้อมูลการสื่อสารโดยไม่มีหมายศาล ทั้งไปรษณีย์ โทรเลข โทรสาร โทรศัพท์ และคอมพิวเตอร์ และอาจส่งผลกระทบต่อบรรษัททั้งไทยและต่างชาติ เพราะเจ้าหน้าที่สามารถ “ขอความร่วมมือ” หรือสั่งให้บรรษัท กระทำการหรืองดเว้นการกระทำการใดๆ ก็ได้