นักวิชาการกะเทาะเพลง “ประเทศกูมี” ชี้สะท้อนสังคมและไม่สะเทือนความมั่นคงของประเทศ
อ่าน

นักวิชาการกะเทาะเพลง “ประเทศกูมี” ชี้สะท้อนสังคมและไม่สะเทือนความมั่นคงของประเทศ

จากกรณีที่พล.ต.อ.ศรีวราห์ รังสิพราหมณกุล รองผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ ออกมาให้สัมภาษณ์สื่อถึงการตรวจสอบเพลงประเทศกูมีของ Rap against dictatorship (RAD) ว่า เข้าข่ายผิดกฎหมายใดหรือไม่ นำไปสู่การวิพากษ์วิจารณ์ในสังคมถึงการบังคับใช้กฎหมาย โดยเหล่านักวิชาการร่วมกะเทาะบทเพลงขบถต่อต้านรัฐอย่าง "ประเทศกูมี" ว่า เหตุใดจึงสร้างแรงกระเพื่อมให้แก่สังคมไทยมากเช่นนี้ ขณะเดียวกันก็พาย้อนกลับไปในประวัติศาสตร์บทเพลงขบถ และวิเคราะห์การเผยแพร่เพลงในแง่มุมของกฎหมายที่ไม่ว่าทางใดก็ไม่มีทางขัดต่อกฎหมายได้
จุดเริ่มต้นของเพลงประเทศกูมีและการดันเพดานเสรีภาพในการแสดงออก
อ่าน

จุดเริ่มต้นของเพลงประเทศกูมีและการดันเพดานเสรีภาพในการแสดงออก

จากกรณีที่พล.ต.อ.ศรีวราห์ รังสิพราหมณกุล รองผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ ออกมาให้สัมภาษณ์สื่อถึงการตรวจสอบเพลงประเทศกูมีของ Rap against dictatorship (RAD) ว่า เข้าข่ายผิดกฎหมายใดหรือไม่ นำไปสู่การวิพากษ์วิจารณ์ในสังคมถึงการบังคับใช้กฎหมาย โดย RAD ได้เปิดเผยที่มาที่ไปของเพลงดังกล่าว
นักวิชาการกะเทาะเพลง “ประเทศกูมี” ชี้สะท้อนสังคมและไม่สะเทือนความมั่นคงของประเทศ
อ่าน

นักวิชาการกะเทาะเพลง “ประเทศกูมี” ชี้สะท้อนสังคมและไม่สะเทือนความมั่นคงของประเทศ

จากกรณีที่พล.ต.อ.ศรีวราห์ รังสิพราหมณกุล รองผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ ออกมาให้สัมภาษณ์สื่อถึงการตรวจสอบเพลงประเทศกูมีของ Rap against dictatorship (RAD) ว่า เข้าข่ายผิดกฎหมายใดหรือไม่ นำไปสู่การวิพากษ์วิจารณ์ในสังคมถึงการบังคับใช้กฎหมาย โดยเหล่านักวิชาการร่วมกะเทาะบทเพลงขบถต่อต้านรัฐอย่าง "ประเทศกูมี" ว่า เหตุใดจึงสร้างแรงกระเพื่อมให้แก่สังคมไทยมากเช่นนี้ ขณะเดียวกันก็พาย้อนกลับไปในประวัติศาสตร์บทเพลงขบถ และวิเคราะห์การเผยแพร่เพลงในแง่มุมของกฎหมายที่ไม่ว่าทางใดก็ไม่มีทางขัดต่อกฎหมายได้
จุดเริ่มต้นของเพลงประเทศกูมีและการดันเพดานเสรีภาพในการแสดงออก
อ่าน

จุดเริ่มต้นของเพลงประเทศกูมีและการดันเพดานเสรีภาพในการแสดงออก

จากกรณีที่พล.ต.อ.ศรีวราห์ รังสิพราหมณกุล รองผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ ออกมาให้สัมภาษณ์สื่อถึงการตรวจสอบเพลงประเทศกูมีของ Rap against dictatorship (RAD) ว่า เข้าข่ายผิดกฎหมายใดหรือไม่ นำไปสู่การวิพากษ์วิจารณ์ในสังคมถึงการบังคับใช้กฎหมาย โดย RAD ได้เปิดเผยที่มาที่ไปของเพลงดังกล่าว
โพสต์-แชร์ เพลง “ประเทศกูมี” อาจไม่ผิดเพราะไม่ใช่ “ข้อมูลเท็จ” ย้อนดูคำพิพากษา พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ คุ้มครองการแสดงความเห็นบนข้อเท็จจริง
อ่าน

โพสต์-แชร์ เพลง “ประเทศกูมี” อาจไม่ผิดเพราะไม่ใช่ “ข้อมูลเท็จ” ย้อนดูคำพิพากษา พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ คุ้มครองการแสดงความเห็นบนข้อเท็จจริง

26 ตุลาคม 2561 พ.ต.อ.ศิริวัฒน์ ดีพอ ผู้กำกับการ 3 กองบังคับการป้องกันและปราบปรามการกระทำความผิดเกี่ยวกับอาชญากรรมทางเทคโนโลยี หรือ ปอท. กล่าวว่า มิวสิกวิดีโอเพลง “ประเทศกูมี” แนวเสียดสีสังคมของกลุ่มแร็ปเปอร์ ‘Rap Against Dictatorship’ น่าจะเข้าข่ายผิดตามพ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ มาตรา 14 (2) ซึ่งเป็นการนำเข้าข้อมูลอันเป็นเท็จสู่ระบบคอมพิวเตอร์ ซึ่งทำให้เกิดความเสียหายต่อความมั่นคงฯ การออกมาให้ความเห็นของเจ้าหน้าที่ตำรวจในลักษณะนี้ย่อมสร้างความหวาดกลัวให้กับผู้ที่แสดงความเห็น หรือผู้ที่แชร์เพลงดังกล่าวบนโลกออนไลน์ ซึ่งไอลอว์อยากหยิบตัวบทกฎหมายมากางกันดูให้ชัดๆ พร้อมทั้งหยิบคำพิพากษาในคดีลักษณะคล้ายกันมาแสดงเป็นตัวอย่าง เพื่อประกอบการแสดงความคิดเห็น ให้ทุกคนลองพิจารณาเองว่า การโพสต์หรือแชร์อย่างไรจะผิดกฎหมายหรือไม่ผิด
เปรียบเทียบกฎหมายการแจ้งให้ลบเนื้อหา อเมริกาใช้เรื่องละเมิดลิขสิทธิ์ ไทยเน้นใช้เรื่องความมั่นคง
อ่าน

เปรียบเทียบกฎหมายการแจ้งให้ลบเนื้อหา อเมริกาใช้เรื่องละเมิดลิขสิทธิ์ ไทยเน้นใช้เรื่องความมั่นคง

ระบบการแจ้งเตือนให้ลบเนื้อหา (Notice and Takedown) เริ่มใช้แล้วในประเทศไทยตามประกาศกระทรวงดีอีฯ ลองดูบทเรียนจากกฎหมาย DMCA ของอเมริกาว่า ระบบนี้ถูกใช้ในประเทศต้นตำรับอย่างไร มีปัญหาอะไร จะช่วยให้เห็นว่า กฎหมายของไทยยังมีช่องว่างอย่างไรบ้าง
คุยกับประวิตร โรจนพฤกษ์ เรื่องเสรีภาพของการพูดคุย ในยุคที่ คสช. “อำพราง” การปิดกั้นด้วยกฎหมาย
อ่าน

คุยกับประวิตร โรจนพฤกษ์ เรื่องเสรีภาพของการพูดคุย ในยุคที่ คสช. “อำพราง” การปิดกั้นด้วยกฎหมาย

นักข่าวที่วิพากษ์วิจารณ์การรัฐประหารของคสช. ถูกตั้งข้อหา “ยุยงปลุกปั่น” และพ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ ห้ากรรม จากโพสเฟซบุ๊ก ประวิตร โรจนพฤกษ์เล่าถึงความเชื่อมั่นต่อหลักเสรีภาพในการแสดงออกของเขา
คุยกับประวิตร โรจนพฤกษ์ เรื่องเสรีภาพของการพูดคุย ในยุคที่ คสช. “อำพราง” การปิดกั้นด้วยกฎหมาย
อ่าน

A Conversation with Pravit Rojanaphruk about the Right to Converse – the NCPO is ‘camouflaging’ their repression.

A journalist who criticize the coup was finally charged 5 counts under Sedition from Facebook post. Pravit reveals his unwavering belief in freedom of expression.
กระทรวงดีอีออกประกาศชัด ผู้ให้บริการต้องลบข้อมูลเกี่ยวกับความมั่นคงภายใน 24 ชั่วโมง
อ่าน

กระทรวงดีอีออกประกาศชัด ผู้ให้บริการต้องลบข้อมูลเกี่ยวกับความมั่นคงภายใน 24 ชั่วโมง

ราชกิจจานุเบกษาเผยแพร่ประกาศกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม เรื่อง ขั้นตอนการแจ้งเตือน การระงับการทำให้แพร่หลายของข้อมูลคอมพิวเตอร์และการนำข้อมูลคอมพิวเตอร์ออกจากระบบคอมพิวเตอร์ และประกาศเรื่องอื่นๆ อีก รวม 5 ฉบับ