“ขอแค่ได้ร่วมสร้างความเปลี่ยนแปลง” โจเซฟจากอาสาสมัครมูลนิธิสู่นักสู้คดี 112
อ่าน

“ขอแค่ได้ร่วมสร้างความเปลี่ยนแปลง” โจเซฟจากอาสาสมัครมูลนิธิสู่นักสู้คดี 112

11 ตุลาคม 2564 ระหว่างที่ศาลอาญากรุงเทพใต้กำลังพิจารณาคดีมาตรา 112 ที่เกิดจากการชุมนุมหน้าสถานทูตเยอรมนีประจำประเทศไทย ชายผิวขาวหนึ่งใน 13 จำเลยซึ่งร่วมอ่านแถลงการณ์ในวันนั้น ปรินท์กระดาษรูปของทนายอานนท์ นำภา และเบนจา อะปัญ จำเลยคดีมาตรา 112 ที่ถูกคุมขังในเวลานั้น ปิดทับเสื้อยืดของตัวเองยกมือขึ้น และแถลงขอให้ศาลดูรูปของคนที่อยู่บนเสื้อของตัวเองซึ่งทั้งสองคนถูกคุมขังในเรือนจำ ทั้งๆ ที่ยังไม่ถูกพิพากษาว่ามีความผิด จึงขอให้ศาลช่วยส่งเรื่องนี้ไปถึงอธิบดีศาลด้วย หลังแถลงจบชายคนดังกล่าวก็ควักมีดคัตเตอร์ขึ้นม
2022 Judgement Days Recap: ขอบเขตที่ยังไม่แน่ชัด / ยกฟ้องคดี “ฟ้องทางไกล” เพราะพยานหลักฐานอ่อน  ประเด็นเด่นคำพิพากษา 112 รอบปี 65
อ่าน

2022 Judgement Days Recap: ขอบเขตที่ยังไม่แน่ชัด / ยกฟ้องคดี “ฟ้องทางไกล” เพราะพยานหลักฐานอ่อน ประเด็นเด่นคำพิพากษา 112 รอบปี 65

ประเด็นเด่นของคำพิพากษาที่ออกมาในปี 2565 คือเรื่องการตีความขอบเขตความคุ้มครองของมาตรา 112 ที่ยังขาดความชัดเจน เพราะคำพิพากษาที่ออกมามีทั้งที่ศาลตีความขยายขอบเขตไปคุ้มครองพระมหากษัตริย์ในอดีต และตีความไปคุ้มครองถึง “สถาบัน” ซึ่งไม่ใช่ถ้อยคำที่ปรากฎอยู่ในตัวบท ขณะเดียวกันก็มีคำพิพากษาที่ศาลตีความเคร่งครัด
#ปล่อยเพื่อนเรา มีผู้ต้องขังคดีการเมือง 11 คนในเรือนจำ
อ่าน

#ปล่อยเพื่อนเรา มีผู้ต้องขังคดีการเมือง 11 คนในเรือนจำ

จนถึงวันที่ 26 พฤษภาคม 2565 มีนักกิจกรรมทางการเมืองที่ถูกคุมขังระหว่างการสอบสวนและระหว่างที่คดียังไม่ถึงที่สุดอย่างน้อย 11 คน นับจากกระแสเรียกร้องทางการเมืองรอบใหม่ หลังการชุมนุมของเยาวชนปลดแอกในปี 2563
สรุปเสวนา #ปล่อยนักโทษการเมือง: เมื่อสิทธิประกันตัวกลายเป็นแค่โฆษณาชวนเชื่อ
อ่าน

สรุปเสวนา #ปล่อยนักโทษการเมือง: เมื่อสิทธิประกันตัวกลายเป็นแค่โฆษณาชวนเชื่อ

19 พฤษภาคม 2565 กลุ่มคณะราษฎรยกเลิก 112 (ครย.112) จัดเสวนาในชื่อ #ปล่อยนักโทษการเมือง ส่งเสียงถึงศาล-ส่งสารถึงเพื่อน โดยมีการพูดคุยถึงสถานการณ์การคุมขังประชาชนที่ออกมาแสดงออกทางการเมืองในรูปแบบต่างๆ รวมถึงการไม่ให้ประกันตัวคนที่ออกมาเคลื่อนไหวหรือแสดงออกทางการเมืองว่า มีผู้ถูกคุมขังอยู่ระหว่างชั้นสอบสวนของตำรวจ อย่างน้อย 9 คน และมีผู้ต้องคำพิพากษาให้จำคุก อย่างน้อย 2 คน
8 ปี ไม่เปลี่ยนผัน อานนท์ นำภา จากจำเลยคดีชุมนุมสู่ผู้ต้องขังคดี 112
อ่าน

8 ปี ไม่เปลี่ยนผัน อานนท์ นำภา จากจำเลยคดีชุมนุมสู่ผู้ต้องขังคดี 112

ย้อนดูชีวิตของทนายอานนท์ นำภา ตั้งแต่ยุคคสช. จนถึงชุมนุมปี 2563 ผู้เริ่มปราศรัยประเด็นสถาบันพระมหากษัตริย์จนทำให้เขาถูกดำเนินคดีมาตรา 112
8 ปี ไม่เปลี่ยนผัน เอกชัย หงส์กังวาน นักสู้ผู้ยอมหักไม่ยอมงอ
อ่าน

8 ปี ไม่เปลี่ยนผัน เอกชัย หงส์กังวาน นักสู้ผู้ยอมหักไม่ยอมงอ

ปลายปี 2560 เอกชัย หงส์กังวานเริ่มเคลื่อนไหวปมนาฬิกาพล.อ.ประวิตร เขาเข้าร่วมการชุมนุมตั้งแต่ยุค คสช.จนถึงชุมนุม 2563 ถูกดำเนินคดีและถูกคุกคามในหลายรูปแบบ ทั้งความผิดตามมาตรา 112, มาตรา 116 หรือกระทั่งข้อหาประทุษร้านพระราชินี
‘ยก 2 ลง 2’ เปิดคำพิพากษาคดี 112 นับถึงพฤษภาคม 2565
อ่าน

‘ยก 2 ลง 2’ เปิดคำพิพากษาคดี 112 นับถึงพฤษภาคม 2565

นับจนถึงเดือนพฤษภาคม 2565 มีอย่างน้อยสี่คดีที่ศาลมีคำพิพากษาออกมาแล้ว และในอนาคตอันใกล้จำนวนผู้ถูกคุมด้วยข้อหามาตรา 112 ตามคำพิพากษาของศาลอาจจะพุ่งสูงขึ้นและเป็นการ ‘ขังยาว’ ไม่ใช่การคุมขังชั่วคราวระหว่างการพิจารณาคดี ดังเช่นก่อนหน้านี้
RECAP: ไล่เรียงสถานการณ์ไต่สวนประกันคดีม.112  สะท้อนแนวโน้มส่งผู้ต้องหาเข้าเรือนจำระหว่างพิจารณาคดี
อ่าน

RECAP: ไล่เรียงสถานการณ์ไต่สวนประกันคดีม.112 สะท้อนแนวโน้มส่งผู้ต้องหาเข้าเรือนจำระหว่างพิจารณาคดี

ชวนอ่านสรุปสถานการณ์ “ไต่สวนเพิกถอนสัญญาประกันของผู้ต้องหามาตรา 112” จำนวน 5 กรณีที่เกิดขึ้นไล่เรียงกันตลอดเดือนเมษายน 2565 โดยที่ 3 ใน 5 กรณีศาลมีคำสั่งให้ “เพิกถอนประกัน” มีรายละเอียดดังต่อไปนี้
99 วันในเรือนจำ: อิสระและตัวตนที่ถูกพรากของ “เบนจา อะปัญ”
อ่าน

99 วันในเรือนจำ: อิสระและตัวตนที่ถูกพรากของ “เบนจา อะปัญ”

เบนจา อะปัญ แนวร่วมธรรมศาสตร์ฯ อยู่ในเรือนจำตั้งแต่วันที่ 7 ตุลาคม 2564 จากข้อหามาตรา 112 14 มกราคม 2565 เบนจาได้รับการปล่อยตัวพร้อมเงื่อนไข
“กัลยา” : หมายเรียกทางไกลจากสุไหงโก-ลก
อ่าน

“กัลยา” : หมายเรียกทางไกลจากสุไหงโก-ลก

“กัลยา” พนักงานบริษัทเอกชนคนหนึ่งรู้ตัวอีกทีก็มีหมายเรียกไปถึงที่บ้านให้ต้องออกเดินทางไกลไปดินแดนใต้สุดของประเทศ เพราะมีคนที่ไม่เคยรู้จักกันมาก่อนไปแจ้งความต่อเธอไว้ที่นั่น