#Conforall ซัดสภาล่มคือเกม “ถ่วง” เวลา ย้ำไม่จำเป็นต้องส่งศาลรัฐธรรมนูญรอบ 3
อ่าน

#Conforall ซัดสภาล่มคือเกม “ถ่วง” เวลา ย้ำไม่จำเป็นต้องส่งศาลรัฐธรรมนูญรอบ 3

เครือข่ายประชาชนร่างรัฐธรรมนูญย้ำไม่มีความจำเป็นต้องยื่นศาลรัฐธรรมนูญรอบที่สามแล้ว สภาล่มสองครั้งคือ เกม “ถ่วง” เวลา
รัฐสภาต้องแสดงความจริงใจ หยุดอ้างคำวินิจฉัย “ถ่วงเวลา” เดินหน้าลงมติแก้รัฐธรรมนูญ เปิดทางเขียนรัฐธรรมนูญใหม่
อ่าน

รัฐสภาต้องแสดงความจริงใจ หยุดอ้างคำวินิจฉัย “ถ่วงเวลา” เดินหน้าลงมติแก้รัฐธรรมนูญ เปิดทางเขียนรัฐธรรมนูญใหม่

Conforall เรียกร้องให้สว.และสส.พรรคภูมิใจไทยหยุดอ้างคำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญเพื่อเตะถ่วงการแก้ไขรัฐธรรมนูญ และผู้แทนรัฐสภาต้องแสดงความจริงใจในการผลักดันก้าวแรกของกระบวนการเขียนรัฐธรรมนูญใหม่
เรียกร้องนายกฯคลายกังวลพรรคร่วมรัฐบาล ปมคำวินิจฉัยศาลรธน.ให้อำนาจสภาแก้ไขรัฐธรรมนูญ
อ่าน

เรียกร้องนายกฯคลายกังวลพรรคร่วมรัฐบาล ปมคำวินิจฉัยศาลรธน.ให้อำนาจสภาแก้ไขรัฐธรรมนูญ

พริษฐ์ วัชรสินธุ์ พรรคประชาชนเรียกร้องให้นายกฯเร่งคลายกังวลเกี่ยวกับร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญ ซึ่งก็สอดคล้องกับจุดยืนของพรรคเพื่อไทยมาตลอด
สภาล่ม: จากความบกพร่องสู่ความตั้งใจของฝ่ายรัฐบาล
อ่าน

สภาล่ม: จากความบกพร่องสู่ความตั้งใจของฝ่ายรัฐบาล

นับตั้งแต่เปิดประชุมสภาผู้แทนราษฎรและรัฐสภาตั้งแต่ปี 2562 มีเหตุการณ์สภาล่มเกิดขึ้นรวมกัน อย่างน้อย 18 ครั้ง โดยจากสถิติการเข้าประชุมสภาสะท้อนว่า ฝ่ายรัฐบาลซึ่งไปด้วยไปด้วยพรรครัฐบาลและสมาชิกวุฒิสภาที่มาจากการแต่งตั้งไม่สามารถรักษาองค์ประชุมได้ อีกทั้ง ในช่วงหลังฝ่ายรัฐบาลพยายามใช้เหตุการณ์สภาล่มเพื่อผลประโยชน์ทางการเมืองของตนเอง
ผลอภิปรายไม่ไว้วางใจ 2565: “3 ป.เสียงแตก” “พปชร.ร้าว” ปชป.รั้งบ๊วย” “ภูมิใจไทยเลี้ยงูเห่า”
อ่าน

ผลอภิปรายไม่ไว้วางใจ 2565: “3 ป.เสียงแตก” “พปชร.ร้าว” ปชป.รั้งบ๊วย” “ภูมิใจไทยเลี้ยงูเห่า”

23 ก.ค. 2565 ผลการลงมติเป็นไปตามคาดคือรมต.ทั้ง 11 คน รอดจากการอภิปรายไม่ไว้วางใจ อย่างไรก็ดี ผลของการอภิปรายยังทำให้เห็นความขัดแย้งไม่เป็นเอกภาพของพรรคร่วมรัฐบาล รวมทั้งความแตกแยกภายในของแต่ละพรรค
3 ผลลัพธ์จากการอภิปรายไม่ไว้วางใจ
อ่าน

3 ผลลัพธ์จากการอภิปรายไม่ไว้วางใจ

ในอดีตที่ผ่านมาไม่เคยมีการอภิปรายไม่ไว้วางใจครั้งไหนเลยที่เสียงส่วนใหญ่ของสภาผู้แทนราษฎรจะเอารัฐมนตรีออกจากตำแหน่งหรือนำไปสู่การเปลี่ยนรัฐบาลได้ แต่การอภิปรายไม่ไว้วางใจในแต่ละครั้งก็นำไปสู่ผลลัพธ์ที่สร้างแรงกดดันให้รัฐบาลได้อย่างน้อย 3 ด้าน
8 ปี คสช. วางเครือข่ายนักการเมืองแต่งตั้งคุมประเทศ
อ่าน

8 ปี คสช. วางเครือข่ายนักการเมืองแต่งตั้งคุมประเทศ

22 พฤษภาคม 2565 คือ วันครบรอบแปดปีรัฐประหารโดย คสช. ตัวผู้นำ คสช. ทั้งพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชาพลเอกประวิตร วงษ์สุวรรณ และพลเอกอนุพงษ์ เผ่าจินดา ยังคงถืออำนาจในการปกครองประเทศไทยอยู่ รวมทั้งเครือข่ายที่ถูก คสช.แต่งตั้ง ตั้งแต่เมื่อแปดปีที่แล้วก็ยังคงมีบทบาทในการค้ำจุนอำนาจกระจายกันไปตามองค์กรต่างๆ
ครบรอบ 8 ปี คสช. ทิ้งมรดกไว้เพียบบบบบ
อ่าน

ครบรอบ 8 ปี คสช. ทิ้งมรดกไว้เพียบบบบบ

แม้ว่าในทางกฎหมาย คสช. จะสิ้นสภาพไปแล้ว แต่คนของคณะรัฐประหารก็ยังคงอยู่ในอำนาจเช่นเดิม และ “มรดก” ที่ คสช. ทิ้งไว้ในระบบกฎหมายอีกมากมาย นับจนถึงปี 2565 อำนาจในการปกครองประเทศก็ยังไม่ได้อยู่ในมือประชาชน และการใช้อำนาจรัฐก็ยังมีลักษณะกับระยะเวลา 8 ปีที่ผ่านมา
ดูรายชื่อรัฐมนตรี “คนนอก” 16 คน ที่ไม่ได้มาจากการเลือกตั้ง
อ่าน

ดูรายชื่อรัฐมนตรี “คนนอก” 16 คน ที่ไม่ได้มาจากการเลือกตั้ง

รายชื่อคณะรัฐมนตรีทั้ง 36 คนของรัฐบาลประยุทธ์ 2 พบว่า 16 คน ไม่ได้มาจากการเลือกตั้ง ซึ่งเป็นโควต้าของพรรคพลังประชารัฐถึง 11 คน
ปิดฉาก คสช. แต่ยังอยู่ต่อ ครม. ประยุทธ์ 2
อ่าน

ปิดฉาก คสช. แต่ยังอยู่ต่อ ครม. ประยุทธ์ 2

10 กรกฎาคม ครม. ชุดใหม่หลังการเลือกตั้ง ของ พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา ตั้งเสร็จแล้ว พบว่าเป็นคนใกล้ชิดหรือเคยทำงานกับ คสช. อย่างน้อย 11 คน