กองทัพไม่โปร่งใสเพราะกฎหมายไม่เอื้อให้ตรวจสอบ
อ่าน

กองทัพไม่โปร่งใสเพราะกฎหมายไม่เอื้อให้ตรวจสอบ

กองทัพไทยเป็นหน่วยงานที่ถูกตั้งแง่เรื่องความโปร่งใสมาโดยตลอด และผู้เปิดโปงการทุจริตภายในกองทัพต้องถูกลงโทษทางวินัยและให้ออกจากราชการ สะท้อนให้เห็นว่ากลไกและกฎหมายภายในกองทัพเป็นอุปสรรคสำคัญที่ทำให้กองทัพไทยเป็นหน่วยงานที่ขาดความโปร่งใส-ตรวจสอบไม่ได้
ส.ว.แต่งตั้ง: หลักประกันทางอำนาจของ คสช.
อ่าน

ส.ว.แต่งตั้ง: หลักประกันทางอำนาจของ คสช.

หากพิจารณาจาก “รัฐธรรมนูญ ปี 2560” ซึ่งถูกร่างขึ้นโดยคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) ผู้ทำการรัฐประหารในปี 2557 ก็จะพบว่า ผู้ร่างรัฐธรรมนูญต้องการให้ “วุฒิสภาที่มาจากการแต่งตั้ง” เป็นหลักประกันทางอำนาจของคณะรัฐประหารที่ต้องการจะดำรงอยู่หลังการเลือกตั้ง ดังนั้น จึงต้องให้อำนาจ ส.ว. ไว้เป็นพิเศษ
ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัย “สิระ เจนจาคะ” ไม่สิ้นสภาพ ส.ส. กรณีปะทะตำรวจ ขณะลงพื้นที่ภูเก็ต
อ่าน

ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัย “สิระ เจนจาคะ” ไม่สิ้นสภาพ ส.ส. กรณีปะทะตำรวจ ขณะลงพื้นที่ภูเก็ต

1 กรกฎาคม 2563 ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยให้ สิระ เจนจาคะ ไม่พ้นจากตำแหน่ง ส.ส. จากกรณีปะทะตำรวจขณะลงพื้นที่ภูเก็ต โดยศาลเห็นว่าการกระทำเป็นไปเพื่อให้เจ้าหน้าที่มีการปฏิบัติหน้าที่ตามที่กฎหมายกำหนด แต่หากใครเห็นว่าพฤติการณ์ของสิระไม่สุภาพให้ไปว่ากันตามข้อบังคับว่าด้วยประมวลจริยธรรมของ ส.ส. 
‘ปิติพงษ์’ ยื่นสามเรื่อง ขอถอดถอนอดีต สนช. ที่นั่งยาวเป็น ส.ว.
อ่าน

‘ปิติพงษ์’ ยื่นสามเรื่อง ขอถอดถอนอดีต สนช. ที่นั่งยาวเป็น ส.ว.

ปิติพงษ์ เต็มเจริญ อดีตโฆษกพรรคเสรีรวมไทย ยื่นหนังสือต่อประธาน กกต. ประธานผู้ตรวจการแผ่นดิน และประธานรัฐสภา เพื่อให้สามองค์กรส่งเรื่องต่อไปยังศาลรัฐธรรมนูญเพื่อวินิจฉัยความเป็นสมาชิกภาพของอดีต สนช.ที่ขณะนี้ดำรงตำแหน่ง ส.ว.และกรรมการ ป.ป.ช. ว่า ขาดคุณสมบัติตามกฎหมายและให้สิ้นสุดการปฏิบัติหน้าที่
จับตาตุลาการศาลรัฐธรรมนูญชุดใหม่พิจารณาคดีถอดถอน ร.อ.ธรรมนัส
อ่าน

จับตาตุลาการศาลรัฐธรรมนูญชุดใหม่พิจารณาคดีถอดถอน ร.อ.ธรรมนัส

17 มิถุนายน 2563 ศาลรัฐธรรมนูญมีมติรับคำร้องขอให้วินิจฉัยสมาชิกภาพความเป็น ส.ส. และรัฐมนตรีของ ร.อ.ธรรมนัส พรหมเผ่า เนื่องจากขัดกับรัฐธรรมนูญที่ห้ามผู้เคยต้องคำพิพากษาถึงที่สุดในกฎหมายว่าด้วยยาเสพติดมาดำรงตำแหน่ง ส.ส.และรัฐมนตรี ทั้งนี้ถือว่าเป็นคดีเกี่ยวกับการตรวจสอบคุณสมบัตินักการเมืองคดีแรกของศาลรัฐธรรมนูญชุดใหม่ 4 คนที่เข้ารับตำแหน่งเมื่อ 1 เมษายน 2563  
ลุ้น! ‘สิระ เจนจาคะ’ พ้นตำแหน่ง ฐานก้าวก่ายข้าราชการ
อ่าน

ลุ้น! ‘สิระ เจนจาคะ’ พ้นตำแหน่ง ฐานก้าวก่ายข้าราชการ

10 มิถุนายน 2563 ศาลรัฐธรรมนูญจะมีคำวินิจฉัยกรณี ‘สิระ เจนจาคะ’ ส.ส.พรรคพลังประชารัฐ ที่มีปากเสียงกับตำรวจเรื่องการอารักขาดูแลความปลอดภัยระหว่างการลงพื้นที่ว่าจะเข้าข่ายเป็นการก้าวก่ายการปฏิบัติหน้าที่ของข้าราชการหรือไม่ แต่อย่างไรก็ดี ในคำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญที่ผ่านมา ยังไม่พบว่ามีคดีที่ศาลวินิจฉัยว่ามีเป็นการกระทำความผิด
กลไกร้องเรียนทุจริตที่บิดเบี้ยว สู่เส้นทางการปฏิรูปกองทัพ
อ่าน

กลไกร้องเรียนทุจริตที่บิดเบี้ยว สู่เส้นทางการปฏิรูปกองทัพ

5 มิถุนายน 2563 ได้มีการจัดแถลงข่าวกรณี “หมู่อาร์ม” ทหารที่เปิดโปงการทุจริตภายในกองทัพ และการเสวนาในหัวข้อ “เส้นทางการปฏิรูปกองทัพ” เพื่อนำไปสู่การจุดประเด็นการปฏิรูปกองทัพให้เข้ากับบริบททางสังคม
เลือกตั้งซ่อม ลำปาง เขต 4 เดินหน้าภายใต้ พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ เดินทางข้ามจังหวัดไปเลือกตั้งได้
อ่าน

เลือกตั้งซ่อม ลำปาง เขต 4 เดินหน้าภายใต้ พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ เดินทางข้ามจังหวัดไปเลือกตั้งได้

การเลือกตั้งซ่อมจังหวัดลำปาง เขต 4 จะมีขึ้นวันที่ 20 มิถุนายน 2563 ขณะที่ พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ก็ยังใช้อยู่ครอบคลุมการเลือกตั้งด้วย จึงต้องมีข้อกำหนดออกมายกเว้นให้ใช้สถานที่ที่เคยห้ามไว้ ให้จัดอบรมพนักงานเจ้าหน้าที่ และให้ประชาชนเดินทางข้ามจังหวัดได้
เปรียบเทียบที่มาตุลาการศาลรัฐธรรมนูญหลายประเทศ ไทยยัง ‘พิเศษ’ ที่ให้โควต้าข้าราชการ
อ่าน

เปรียบเทียบที่มาตุลาการศาลรัฐธรรมนูญหลายประเทศ ไทยยัง ‘พิเศษ’ ที่ให้โควต้าข้าราชการ

ศาลรัฐธรรมนูญมีหน้าที่หลักเป็นองค์กร ‘พิทักษ์รัฐธรรมนูญ’ คอยตรวจสอบว่า กฎหมายขัดแย้งกับรัฐธรรมนูญหรือไม่ ด้วยบทบาทที่กำหนดความเป็นไปทางการเมือง ทำให้สังคมตั้งคำถามถึงอำนาจที่ล้นเหลือของศาลรัฐธรรมนูญ และ “ที่มา” ของคนที่จะมาดำรงตำแหน่ง ตุลาการที่มาจากสายข้าราชการของไทยนั้นเป็นระบบเฉพาะตัวมากที่ไม่เหมือนระบบของประเทศอื่น