MP Salary
อ่าน

เปิดค่าตอบแทน สส.ผู้ทรงเกียรติ เงินเดือนหลักแสน ผู้ช่วยพร้อม สวัสดิการครบ

ในช่วงหาเสียงเหล่านักการเมืองทั้งหน้าเก่าและหน้าใหม่มักใช้ข้อความในทำนองว่า ‘อาสารับใช้ประชาชน’ แต่อย่างไรเสีย การเข้าสภาไปทำหน้าที่ สส.ไม่ใช่งานจิตอาสา ค่าตอบแทนน้ำพักน้ำแรงของคนเหล่านี้ล้วนมาจากภาษีของประชาชนทั่วประเทศที่ฝากความหวังไว้
อ่าน

รัฐสภามีมติ เสนอชื่อแคนดิเดตนายกฯ ที่โหวตไม่ผ่านซ้ำอีกรอบไม่ได้

19 กรกฎาคม 2566 ที่ประชุมรัฐสภา 395 เสียง มีมติว่า การเสนอชื่อนายกรัฐมนตรีคนเดิมที่เคยลงมติไปแล้วเป็นการเสนอญัตติซ้ำ ต้องห้ามตามข้อบังคับข้อ 41 ส่งผลให้ในสมัยประชุมนี้เสนอชื่อพิธา ลิ้มเจริญรัตน์ ให้เป็นนายกฯ ไม่ได้อีก
Status of the King and Lese majeste Law in debate for Prime Minister
อ่าน

รวมวิวาทะว่าด้วยมาตรา 112 และสถานะของสถาบันพระมหากษัตริย์ในการอภิปรายคุณสมบัตินายกรัฐมนตรี

พิธา ลิ้มเจริญรัตน์ ได้เสียงจากรัฐสภาไม่พอให้เป็นนายกรัฐมนตรีโดยคนที่ไม่โหวตทั้งหลายอ้างประเด็นการเสนอแก้ไขมาตรา112 เป็นเหตุที่ไม่โหวตให้
Vote PM
อ่าน

Fact-checking : โหวตนายกฯ ไม่ใช่ญัตติทั่วไป เป็นการดำเนินการตามรัฐธรรมนูญ

ระหว่างที่ประชุมรัฐสภาจะลงมติเลือกนายกฯ ครั้งที่สอง และมีผู้เสนอชื่อพิธา ลิ้มเจริญรัตน์ ฝั่งอัครเดช วงษ์พิทักษ์โรจน์ ส.ส.พรรครวมไทยสร้างชาติ ลุกขึ้นประท้วงว่าเป็นญัตติซ้ำ ทั้งที่กระบวนการนี้ไม่ใช่ญัตติ และข้อบังคับการประชุมไม่ใหญ่กว่ารัฐธรรมนูญ
Motion for Vote PM
อ่าน

เลือกนายกฯ ไม่เหมือน ‘ญัตติ’ ทั่วไปตามข้อบังคับฯ โหวตซ้ำกี่รอบก็ได้

การเลือกพิธาเป็นนายกฯ ครั้งที่สองในวันที่ 19 กรกฎาคม 2566 ของแปดพรรคเสียงข้างมาก กลับต้องเจอโจทย์ใหม่ เมื่อวุฒิสภาและฝ่ายพรรคเสียงข้างน้อยส่วนหนึ่งเห็นว่า การเสนอชื่อพิธาเป็นนายกฯ เป็นการเสนอญัตติซ้ำ ซึ่งขัดกับข้อบังคับการประชุมรัฐสภา
53054648824_27d81eceae_o
อ่าน

112 FACT-CHECKING : 112 ไม่ใช่ต้นทุนทางวัฒนธรรม หากเป็นมรดกรปห. 6 ตุลา

ลักษณะสำคัญของความผิดฐานหมิ่นกษัตริย์ฯ ในประวัติศาสตร์ไทย คือ สามารถเปลี่ยนแปลงได้ ซึ่ง “ต้นทุน” ที่ก่อตัวขึ้นในสังคม คือ การปรับตัวของกฎหมายและสถาบันพระมหากษัตริย์ของไทยไปตามยุคสมัย
senate 272
อ่าน

ย้อนรอย สว.ฟังเสียงข้างมาก เห็นชอบ “พิธา” และเคยโหวตปิดสวิตช์ตัดอำนาจตัวเอง

ชวนย้อนรอยดูผลการโหวตแก้ไขมาตรา 272 (ปิดสวิตช์ส.ว.เลือกนายกฯ) ควบคู่กับมติโหวตนายกฯ ล่าสุด ว่าส.ว.คนใดเคยรับหลักการพร้อมเคียงข้างประชาชนกันบ้าง
senate uturn
อ่าน

สว.โหวตนายกฯ​ ผิดหวังแต่ไม่ผิดคาด พลิกจุดยืนกันครั้งใหญ่

วาระสำคัญโหวตเลือกนายกฯ คนที่ 30 มีส.ว.จำนวนหนึ่งเคยออกมาประกาศแสดงจุดยืนโดยอ้างหลักการต่างๆ ว่าจะลงคะแนนเสียงสนับสนุนนายกฯ จากพรรคที่ได้เสียงอันดับหนึ่ง มาในวันจริง “กลับลำ” พลิกลิ้นกันอีกรอบหรือบางคนก็ “หายตัว” ไปอย่างไร้ร่องรอย ไม่เหมือนกับที่เคยหนักแน่นไว้
Pita Not today
อ่าน

#โหวตนายกฯ พิธาเสียงไม่พอ “ยัง” ไม่ได้เป็นนายกรัฐมนตรี

13 กรกฎาคม 2566 ที่ประชุมรัฐสภา ลงมติเพื่อเลือกนายกรัฐมนตรีคนที่ 30 “ไม่สำเร็จ” โดยเป้าหมายต้องการ 376 เสียง แม้ว่า 8 พรรคร่วมจะจับมือเหนียวแน่นเสนอพิธา ลิ้มเจริญรัตน์ แต่สุดท้ายส.ว. ก็มาโหวตให้แค่ 13 คน และพรรคอื่นไม่มาเลย
53042969139_0db7cd874b_o
อ่าน

รวมวาทะ ส.ส.-ส.ว. อภิปรายก่อนเลือกพิธาเป็นนายก

13 กรกฎาคม 2566 ที่ประชุมรัฐสภานัดประชุมพิจารณาผู้ที่จะดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีคนต่อไป โดยมีผู้อภิปรายจากทั้ง ส.ส. และ ส.ว.