Senate opposed amend the constitution
อ่าน

รวมวาทะสว. อภิปรายขวางร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ ก่อนเลือกเศรษฐาเป็นนายกฯ

22 สิงหาคม 2566 ในที่ประชุมรัฐสภามีการอภิปราย ก่อนลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีคนที่ 30 รอบที่สาม สมาชิกวุฒิสภา (สว.) หลายคนได้ลุกขึ้นอภิปรายความเหมาะสมและคุณสมบัติของ “เศรษฐา ทวีสิน” แคนดิเดตนายกรัฐมนตรีจากพรรคเพื่อไทย โดยสว.บางคนก็แสดงความเห็นสอดแทรกไปในทางที่ไม่เห็นด้วยหรือยังมีข้อสงสัยที่อยากให้พรรคเพื่อไทยแถลงข้อเท็จจริงให้ชัดเจนในประเด็นการแก้ไขรัฐธรรมนูญที่พรรคเพื่อไทยจะผลักดันเป็นวาระแรกเมื่อจัดตั้งรัฐบาลสำเร็จ   
Writing new constitution is not a treason
อ่าน

เขียนใหม่ไม่ใช่ล้มล้าง! ตอบคำถาม เขียนรัฐธรรมนูญใหม่ทั้งฉบับ “ไม่ใช่วิธีล้มล้างการปกครอง”

ข้อถกเถียงว่า “จะเขียนรัฐธรรมนูญใหม่อย่างไรดี” นั้นถูกแบ่งออกเป็นสองความคิดเห็นใหญ่ๆ คือ กลุ่มที่สนับสนุนการเขียนใหม่ทั้งฉบับ ต้องแก้ไขได้ในทุกหมวดทุกมาตรา และกลุ่มที่สนับสนุนให้ละเว้นการเขียนใหม่หรือการแก้ไขในรัฐธรรมนูญหมวด 1 บททั่วไป และหมวด 2 พระมหากษัตริย์ ไว้ดังเดิม คำกล่าวอ้างสำคัญ คือ กังวลว่าจะเกิดความพยายามในการเปลี่ยนรูปแบบการปกครองของรัฐไทย ทั้งจากการเป็นรัฐเดี่ยวอันแบ่งแยกมิได้ และการธำรงไว้ซึ่งระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข อย่างไรก็ตาม การแก้ไขรัฐธรรมนูญเพื่อเปิดช่องให้มีการร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่นั้นอยู่ภายใต้ มาตรา 255 ซึ่งขวางการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการปกครองไว้แล้ว รวมทั้งในอดีตรัฐธรรมนูญทั้งหมวด 1 และหมวด 2 ยังเคยถูกแก้ไขตาม “ข้อสังเกตพระราชทาน” หลังผ่านการทำประชามติรับร่างรัฐธรรมนูญมาแล้วอีกด้วย
constitution amendments policy
อ่าน

ทวงสัญญารัฐธรรมนูญใหม่ พรรคไหนเคยชูเป็นนโยบายบ้าง

การแก้ไขรัฐธรรมนูญถูกนำเสนอเป็นประเด็นสำคัญในนโยบายหาเสียงของหลายพรรค ก่อนการเลือกตั้ง 66 เมื่อผ่านการเลือกตั้งแล้วสส. ในสภาจึงต้องถูกทวงถามสิ่งที่เคยประกาศเอาไว้
53070208650_1637626979_o
อ่าน

2 เงื่อนไข รัฐบาลใหม่ต้องทำเพื่อเปลี่ยนผ่านสู่สภาวะปกติ

ไม่ว่าจะหน้าตาเป็นอย่างไร แต่สิ่งที่รัฐบาลใหม่สามารถทำได้ในสภาวะไม่ปกติคือการเริ่มกระบวนการเขียนรัฐธรรมนูญใหม่และคืนอำนาจให้ประชาชนทันทีที่เงื่อนไขของ สว. หายไปจากสมการ เพื่อให้ประชาชนได้แสดงเจตจำนงอีกครั้งในสนามที่เป็นธรรมกับทุกฝ่าย
53039677922_c4bef07fa8_o
อ่าน

รู้หรือไม่ อดีตพรรคร่วมรัฐบาลเคยเทคะแนนโหวตปิดสวิตช์ ส.ว. มาแล้ว 3 ครั้ง

ช่วงเวลาสี่ปีของสภาที่ผ่านมา ประเด็นการตัดอำนาจ ส.ว. แต่งตั้งเลือกนายกรัฐมนตรีได้รับการสนับสนุนอย่างกว้างขวาง แม้แต่อดีตพรรคร่วมรัฐบาลอย่างพรรคพลังประชารัฐ พรรคภูมิใจไทย พรรคประชาธิปัตย์ ก็เคยยกมือปิดสวิตช์ ส.ว. มาแล้วถึงสามครั้ง รวมถึงเคยเสนอร่างเพื่อตัดอำนาจ ส.ว. ของตนเองด้วย
อ่าน

ก้าวไกล-เพื่อไทย-ประชาชาติ ลง MOU พร้อมผลักร่างรัฐธรรมนูญใหม่

8 กรกฎาคม 2566 เครือข่ายรณรงค์รัฐธรรมนูญ (Constitution Advocacy Alliance) จัดกิจกรรม “Con Next: ออกจากกะลาไปหารัฐธรรมนูญใหม่” มีการเชิญตัวแทนจากพรรคการเมืองเข้าร่วมแสดงความเห็นต่อบทบาทของรัฐสภาในการร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ และปิดท้ายด้วยการทำบันทึกข้อตกลงร่วมต่อการร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่โดยประชาชน
First Three Steps Back to Democracy
อ่าน

เลือกตั้ง 66: 3 ข้อเสนอ ก้าวแรกพาประเทศไทยกลับสู่ประชาธิปไตยเต็มใบ

แม้ปัจจุบันกติกาทางการเมืองจะยังไม่ปกติ แต่เราก็สามารถสร้างการเมืองที่ชอบธรรมและเป็นที่ยอมรับของประชาชนได้ โดยเริ่มจากการมีรัฐบาลและนายกรัฐมนตรีที่มีที่มาและคุณสมบัติตามครรลองประชาธิปไตย เพื่อก้าวแรกในการพาประเทศไทยกลับสู่ “ประชาธิปไตยเต็มใบ” ผ่านสามข้อเสนอ
Thaisangthai Constitutional Amendment
อ่าน

ไทยสร้างไทยล่ารายชื่อ #แก้รัฐธรรมนูญ เลือกตั้ง สสร. ทำรัฐธรรมนูญใหม่ ห้ามแตะหมวด 1 หมวด 2

พรรคไทยสร้างไทย ทำร่าง #แก้รัฐธรรมนูญ ชวนประชาชน 50,000 คน เข้าชื่อเสนอให้รัฐสภาพิจารณาต่อไป โดยร่างของไทยสร้างไทยต้องการเปลี่ยนแปลงวิธีการแก้ไขรัฐธรรมนูญ ให้การพิจารณาในวาระที่หนึ่งและวาระที่สาม ต้องใช้เสียงเห็นชอบไม่น้อยกว่า "3 ใน 5" ของจำนวน ส.ส. และ ส.ว. และต้องการเพิ่มหมวดการจัดทำรัฐธรรมนูญฉบับใหม่โดย สสร. ที่มาจากการเลือกตั้งโดยมีเงื่อนไขว่า สสร ห้ามแก้ไขหมวดที่ 1 และ 2
senate meeting
อ่าน

ส.ว. ขอเวลาศึกษาอีก 45 วัน ยังไม่เคาะส่งครม. ทำประชามติจัดทำรัฐธรรมนูญใหม่ทั้งฉบับ

20 ธันวาคม 2565 วุฒิสภาเห็นชอบให้กมธ. ที่ตั้งขึ้นมาเพื่อพิจารณาศึกษาญัตติขอให้สภามีมติส่งเรื่องที่มีเหตุสมควรจะให้มีการออกเสียง ประชามติให้คณะรัฐมนตรีดำเนินการ ขยายเวลาพิจารณาออกไปอีก 45 วัน
52547821942_5410b3d4ef_o
อ่าน

เลือกตั้ง 66: ส่องนโยบาย “กระจายอำนาจ” ของพรรคการเมือง หลังสภาคว่ำร่างแก้รัฐธรรมนูญ #ปลดล็อกท้องถิ่น

ในการเลือกตั้งที่เกิดขึ้นอย่างช้า ในปี 2566 มีพรรคการเมืองอย่างน้อยสองพรรค ได้แก่ พรรคเพื่อไทย และพรรคก้าวไกล ที่ประกาศนโยบายสนับสนุนการกระจายอำนาจ และลดการรวมศูนย์อำนาจของส่วนกลาง