‘ห้องกัก ตม.’ สถานที่เสี่ยงติดโควิดสูงมาก กฎหมายเปิดช่องให้ใช้ทางเลือกอื่นได้
อ่าน

‘ห้องกัก ตม.’ สถานที่เสี่ยงติดโควิดสูงมาก กฎหมายเปิดช่องให้ใช้ทางเลือกอื่นได้

ระหว่างที่ผู้คนใช้ชีวิตแบบ "เว้นระยะห่าง" ศูนย์กักกันของสำนักงานตรวจคนเข้าเมือง (ตม.) ซึ่งเป็นที่รวมตัวขนาดย่อมของชาวต่างชาติที่รอการส่งตัวกลับประเทศ กลายเป็นสถานที่แออัดที่มีผู้ติดเชื้อจำนวนมาก เมื่อดูตามกฎหมายพบว่า เจ้าหน้าที่มีทางเลือกที่จะให้ปล่อยตัวไปอยู่ที่อื่น โดยมีประกันระหว่างรอการส่งกลับก็ได้
รับมือโควิด 19 แบบไทยๆ ด้วยการออกกฎและ “ข่มขู่”
อ่าน

รับมือโควิด 19 แบบไทยๆ ด้วยการออกกฎและ “ข่มขู่”

ที่ผ่านมาระหว่างการต่อสู้กับโรคโควิด 19 ด้วยกฎหมายและเครื่องมือใหม่ๆ แนวทางที่บุคลากรของภาครัฐปฏิบัติอย่างต่อเนื่องกัน คือ การแสดงออกในลักษณะ "ข่มขู่" หรือสร้างความหวาดกลัวให้แก่ประชาชน การข่มขู่อาจมาในลักษณะคำพูดที่สร้างความไม่มั่นคงให้แก่หน้าที่การงาน หรือการเตือนว่า การกระทำที่สวนทางกับรัฐอาจนำมาซึ่งการดำเนินคดีตามกฎหมาย
รวมข้อกฎหมายอยากให้รู้ ช่วง COVID-19
อ่าน

รวมข้อกฎหมายอยากให้รู้ ช่วง COVID-19

ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 สังคมและวิถีชีวิตของผู้คนต้องปรับตัวอย่างเฉียบพลันครั้งใหญ่ รัฐบาลออกกฎหมายและมาตรการใหม่ๆ อย่างเร่งด่วนจนประชาชนตามไม่ทัน หน้านี้รวมข้อกฎหมายอยากให้รู้เท่าที่ไล่ตามได้ทัน เพื่อการปรับตัวให้อยู่ร่วมกันภายใต้บรรยากาศแบบใหม่ให้ได้อย่างเท่าทันที่สุด
รับมือโควิดในกรีซ:  เยียวยา 800 ยูโร แม้ยังไม่ฟื้นจากวิกฤติเศรษฐกิจเรื้อรัง
อ่าน

รับมือโควิดในกรีซ: เยียวยา 800 ยูโร แม้ยังไม่ฟื้นจากวิกฤติเศรษฐกิจเรื้อรัง

ดินแดนแห่งปรัชญาเผชิญหน้าวิกฤติเศรษฐกิจมาตั้งแต่ปี 2009 และต้องมาเจอซ้ำช่วงโควิด แม้จะอยู่ใกล้อิตาลีแต่กรีซมีดีที่ติดตามสถานการณ์และออกตัวก่อนประเทศเพื่อนบ้าน จนนำไปสู่คำสั่งห้ามออกจากบ้านถ้าไม่มีเหตุจำเป็น และแม้ประเทศจะยังบอบช้ำรัฐบาลก็ยังให้เงินเยียวยาผู้ได้รับผลกระทบ
เปรียบเทียบมาตรการรับมือโควิดของไทย กับของชาวโลก
อ่าน

เปรียบเทียบมาตรการรับมือโควิดของไทย กับของชาวโลก

ระหว่างที่สังคมโลกกำลังเผชิญหน้ากับวิกฤตการณ์โควิด 19 แต่ละประเทศก็ตัดสินใจใช้แนวนโยบายที่แตกต่างกัน แนวทางแบบใดที่จะถือว่าประสบความสำเร็จอย่างแท้จริง คงต้องพิจารณากันในระยะยาว ระหว่างนี้การเหลียวมองการตัดสินใจของประเทศอื่นๆ และผลที่เกิดขึ้น ก็เป็นสิ่งที่ควรพิจารณาเรียนรู้ไปพร้อมๆ กัน
รับมือโควิดในสิงคโปร์: เน้นสร้างความมั่นใจและให้ข้อมูลประชาชนอย่างตรงไปตรงมา
อ่าน

รับมือโควิดในสิงคโปร์: เน้นสร้างความมั่นใจและให้ข้อมูลประชาชนอย่างตรงไปตรงมา

สิงคโปร์เคยมีประสบการณ์ต่อสู้กับโรคระบาดอย่างซาร์สมาก่อน ในวิกฤตโควิด 19 สิงคโปร์จึงใช้ประสบการณ์นั้นมาจัดการกับสถานการณ์อีกครั้ง โดยเน้นสร้างความมั่นใจกับประชาชนพร้อมทั้งให้ข้อมูลอย่างตรงไปตรงมาและโปร่งใสเพื่อสร้างความมั่นใจในหมู่ประชาชน เพราะผู้นำสิงคโปร์เห็นว่าความตื่นตระหนกในสังคมเป็นสิ่งที่น่ากังวลมากกว่าตัวโรคระบาด
รับมือโควิดในเนเธอร์แลนด์: ควบคุมโรคแบบ “ชิลๆ” ที่ร็อตเตอร์ดัม
อ่าน

รับมือโควิดในเนเธอร์แลนด์: ควบคุมโรคแบบ “ชิลๆ” ที่ร็อตเตอร์ดัม

ประเทศเนเธอร์แลนด์เลือกใช้มาตรการควบคุมการแพร่ระบาดของ covid-19 ด้วยวิธีการผ่อนคลาย เพราะเชื่อว่าประชาชนของพวกเขามีความรับผิดชอบเพียงพอจนรัฐไม่ต้องชี้นิ้วสั่ง รวมทั้งเชื่อว่าการควบคุมไวรัสแบบผ่อนคลายจะทำให้เศรษฐกิจของประเทศไม่พังทลาย ที่น่าสนใจคือมาตรการเยียวยาของที่นี่ไม่ได้จำกัดอยู่แค่พลเมืองดัชต์แต่รวมถึงผู้อพยพหรือชาวต่างชาติที่ทำงานเสียภาษีให้รัฐด้วย
รับมือโควิดในสวีเดน: How chilling Sweden handle this situation?
อ่าน

รับมือโควิดในสวีเดน: How chilling Sweden handle this situation?

นักศึกษาปริญญาโทในสวีเดนเล่าประสบการณ์ความตื่นตัวของผู้คนและรัฐบาลสวีเดนในการรับมือโควิด 19 ในสังคมที่มีสิทธิเสรีภาพสูงมาก การสั่งให้คนกักตัว 14 วันเป็นการละเมิดสิทธิที่รุนแรง จึงใช้วิธีขอความร่วมมือแทน ด้านนายกฯ ออกแถลงการณ์ให้ประชาชนเตรียมใจรับความสูญเสีย
รับมือโควิดในสวีเดน: ว่ายทวนน้ำด้วยแนวคิด “ภูมิคุ้มกันหมู่”ไม่ปิดเมือง แค่รักษากราฟไปเรื่อยๆ
อ่าน

รับมือโควิดในสวีเดน: ว่ายทวนน้ำด้วยแนวคิด “ภูมิคุ้มกันหมู่”ไม่ปิดเมือง แค่รักษากราฟไปเรื่อยๆ

การต่อสู้กับโควิด-19 ครั้งนี้ ถ้าไม่พูดถึงยุทธศาสตร์ของสวีเดนแล้วก็เหมือนจะขาดอะไรไปบางอย่าง ประเทศนี้ใช้แนวคิดภูมิคุ้มกันหมู่ด้วยความเชื่อว่า เราจะต้องอยู่กับโรคนี้ไปอีกนาน จึงไม่ต้องปิดเมืองให้กระทบต่อชีวิตและเศรษฐกิจ และเสี่ยงกับการระบาดระลอกใหม่หลังเปิดเมือง เพียงแค่รักษากราฟไม่ให้เกินศักยภาพรองรับของระบบสาธารณสุข
รับมือโควิดในอินเดีย: ใช้มาตรการแรงเพื่อควบคุมโรค แต่มาตรการรองรับยังมีปัญหา
อ่าน

รับมือโควิดในอินเดีย: ใช้มาตรการแรงเพื่อควบคุมโรค แต่มาตรการรองรับยังมีปัญหา

อินเดียมีประชากรสูงเป็นอันดับสองของโลกและมีความเหลื่อมล้ำสูง ประชากรบางส่วนไม่สามารถเข้าถึงน้ำสะอาด ประชากรเรือนล้านใช้รถไฟเป็นพาหนะเดินทางในทุกๆ วัน รัฐบาลอินเดียตัดสินใจใช้ยาแรงสั่งปิดเมืองแบบเข้มงวด แต่ก็ส่งผลให้ประชาชนจำนวนไม่น้อยต้องตกงาน จนเกิดภาพแรงงานในเมืองเดินเท้ากลับบ้านเกิดในชนบท