NOTIFICATION OF THE MINISTRY OF Digital Economy and Society
อ่าน

เอกชนเตรียมปรับตัว ตามมาตรฐานรักษาความปลอดภัยของข้อมูลส่วนบุคคล

17 กรกฎาคม 2563 ราชกิจจานุเบกษาเผยแพร่ประกาศกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม กำหนดให้ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคล 22 กิจการที่ได้รับการยกเว้นให้ไม่ต้องปฏิบัติตาม พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล ต้องปฏิบัติตามมาตรการรักษาความปลอดภัยของข้อมูลส่วนบุคคล และจัดการระบบภายในองค์กร เพื่อให้มีมาตรฐานในการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลให้มีความปลอดภัยในระดับหนึ่ง
Revealing orders for diplomatic and soldier cases.
อ่าน

เปิดคำสั่ง ศบค. คณะทูตซูดาน/ทหารอียิปต์ เข้าไทยต้องกักตัว 14 วันทุกคน

คณะทูตซูดานและทหารอียิปต์เข้าประเทศตามเงื่อนไขคำสั่ง ศบค.ที่ 7/2563 แต่ประชาชนต้องตกอยู่ในความเสี่ยงต่อการแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 อีกครั้งเพราะเจ้าหน้าที่ของรัฐหละหลวมในการบังคับใช้มาตรการ
49959814542_7e5c021e63_o
อ่าน

รวมเสียงสะท้อนความเดือดร้อนของผู้ได้รับผลกระทบจากการแพร่ระบาดโรคโควิด 19

นับตั้งแต่ที่ประเทศไทยต้องเผชิญกับการแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 และรัฐบาลได้มีการประกาศใช้ พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯเพื่อควบคุมโรค  ประชาชนได้รับความเดือดร้อนกันถ้วนหน้า  และนี่คือตัวอย่างเรื่องราวของผู้ที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 และมาตรการดูแลเยียวยาที่ไม่ชัดเจนของรัฐบาล   
Military
อ่าน

กองทัพไม่โปร่งใสเพราะกฎหมายไม่เอื้อให้ตรวจสอบ

กองทัพไทยเป็นหน่วยงานที่ถูกตั้งแง่เรื่องความโปร่งใสมาโดยตลอด และผู้เปิดโปงการทุจริตภายในกองทัพต้องถูกลงโทษทางวินัยและให้ออกจากราชการ สะท้อนให้เห็นว่ากลไกและกฎหมายภายในกองทัพเป็นอุปสรรคสำคัญที่ทำให้กองทัพไทยเป็นหน่วยงานที่ขาดความโปร่งใส-ตรวจสอบไม่ได้
83849351_2901817313171989_3713295103394054144_o
อ่าน

นิติรัตน์ ทรัพย์สมบูรณ์ – สามัญชนผู้ใฝ่ฝันถึงรัฐสวัสดิการ เพื่อลบล้างมรดกความจนให้หายไป

ในภาวะวิกฤติจากสถานการณ์โควิดที่ทุกกลุ่มอาชีพได้รับผลกระทบกันถ้วนหน้า แต่การช่วยเหลือจากภาครัฐกลับไม่สามารถเข้าถึงผู้เดือดร้อนได้ครอบคลุมทั้งหมด เสียงเพรียกหาสวัสดิการถ้วนหน้าจึงยิ่งดังขึ้น และ นิติรัตน์ ทรัพย์สมบูรณ์ จากเครือข่ายรัฐสวัสดิการเพื่อความเท่าเทียมและเป็นธรรม หรือ wefair คืออีกหนึ่งฟันเฟืองสำคัญที่มุ่งขับเคลื่อนผลักดันแนวคิดรัฐสวัสดิการให้เกิดขึ้นในสังคมไทย
fraudulent
อ่าน

รับเงินบริจาคไปใช้เพื่อประโยชน์ส่วนตัวเข้าข่ายผิดฐาน “ฉ้อโกงประชาชน”

การเปิดรับบริจาคและนำเงินไปใช้ผิดวัตถุประสงค์ หรือนำไปใช้เพื่อประโยชน์ส่วนตัวอาจจะเข่าข่ายความผิดฐานฉ้อโกงประชาชน ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 341 และ 343 วรรคหนึ่ง แต่ไม่สามารถผิด พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ มาตรา 14 (1) ได้ เพราะเจตนารมณ์ของกฎหมายเป็นเรื่องการใช้เทคโนโลยีกระทำความผิด มิใช่การกระทำความผิดจากการโพสต์ข้อความในโลกออนไลน์ 
aHR0cHM6Ly9zLmlzYW5vb2suY29tL25zLzAvdWQvMTUwOS83NTQ1MzQyL2NvdmVyLWZiLXByYXl1dGguanBn
อ่าน

ชมจริงหรือพีอาร์? มองเพดาน “การโฆษณาภาครัฐ” ผ่านกฎหมาย

การโฆษณาประชาสัมพันธ์โดยปกติแล้วไม่ใช่เรื่องผิดบาป เพียงแต่มีเส้นที่ยังต้องกำกับกันอยู่บ้างเพื่อคุ้มครองผู้บริโภคสื่อไม่ให้ถูกครอบงำ หรือชักจูงให้หลงเชื่อจนเกิดผลเสีย โดยเฉพาะอย่างยิ่งการประชาสัมพันธ์หรือโฆษณาจากภาครัฐที่นำเม็ดเงินภาษีประชาชนไปใช้ ยิ่งต้องมีการกำกับอย่างเคร่งครัด
_DSC3319
อ่าน

ตามหาวันเฉลิม: ถอดบทเรียนการต่อสู้เพื่อกลไกป้องกันการบังคับสูญหาย

ภาคประชาสังคมที่ทำงานขับเคลื่อนประเด็นป้องกันการทรมานและอุ้มหายจัดวงเสวนาเรื่อง “ตามหาวันเฉลิม: ตามหาหลักประกันความปลอดภัยของประชาชนจากการถูกบังคับสูญหาย (และทรมาน)” สะท้อนความรู้สึกของผู้ใกล้ชิด บทเรียนความพยายามในการสร้างกลไกในการป้องกันการทรมานและการบังคับสูญหาย
Military Reform
อ่าน

กลไกร้องเรียนทุจริตที่บิดเบี้ยว สู่เส้นทางการปฏิรูปกองทัพ

5 มิถุนายน 2563 ได้มีการจัดแถลงข่าวกรณี “หมู่อาร์ม” ทหารที่เปิดโปงการทุจริตภายในกองทัพ และการเสวนาในหัวข้อ “เส้นทางการปฏิรูปกองทัพ” เพื่อนำไปสู่การจุดประเด็นการปฏิรูปกองทัพให้เข้ากับบริบททางสังคม