อ่าน

ไม่มีพื้นที่สำหรับเยาวชนและ LGBT ร่วมกำหนดกฎหมาย-นโยบาย

งานเสวนาสาธารณะสตรี ที-ทอล์ค ครั้งที่ 2 วรรณพงษ์ ยอดเมือง กล่าวว่า เป็นไปไม่ได้เลยที่จะมีเยาวชนอยู่ใน สนช. อีกทั้งสัดส่วนของ สนช. ก็มีผู้หญิงเพียง 12 คน จึงเป็นไปไม่ได้ที่จะมีความหลากหลายทางเพศอยู่ในนั้น
วงเสวนา มอง ระบบอุปถัมภ์ทำผู้เสียหายไร้อำนาจต่อรอง ไม่สามารถเอาผิดผู้ล่วงละเมิดทางเพศได้
อ่าน

วงเสวนา มอง ระบบอุปถัมภ์ทำผู้เสียหายไร้อำนาจต่อรอง ไม่สามารถเอาผิดผู้ล่วงละเมิดทางเพศได้

ปัญหาของการล่วงละเมิดทางเพศยังดำรงอยู่ ส่วนหนึ่งเกิดจากความเข้าใจผิดของสังคมที่มุ่งกล่าวโทษว่าผู้ถูกกระทำเป็นต้นเหตุ กฎหมายที่มีก็ยังใช้บังคับไม่ได้ กฎหมายข่มขืนที่แก้ไขแล้วคนก็ยังไม่เข้าใจ
ความรุนแรงทางเพศ กับอาชีพพริตตี้ คำบอกเล่าจากประสบการณ์ตรงของ พริตตี้
อ่าน

ความรุนแรงทางเพศ กับอาชีพพริตตี้ คำบอกเล่าจากประสบการณ์ตรงของ พริตตี้

23 กรกฎาคม 2560 เวลา 9.00 -16.00 น. ที่เวทีสตรีนิยม มีการนำเสนอผลงานนักศึกษาภาคฤดูร้อน ครั้งที่ 3 ณ ห้องประชุม ประกอบ หุตสิงห์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ หลากหลายเรื่องราว หนึ่งในเรื่องที่น่าสนใจคือเรื่อง "ประสบการณ์ตรงความรุนแรงทางเพศที่พริตตี้อย่างดิฉันเผชิญมา"
หลักเกณฑ์ ร่าง พ.ร.บ. รับรองเพศยังไม่ยึดโยงเจ้าของปัญหา
อ่าน

หลักเกณฑ์ ร่าง พ.ร.บ. รับรองเพศยังไม่ยึดโยงเจ้าของปัญหา

ล่าสุด ร่าง พ.ร.บ. การรับรองเพศ พ.ศ. … ยังอยู่ในกระบวนการรับฟังความเห็นของผู้มีส่วนได้-เสีย คาดว่าอาจมีการทำประชาพิจารณ์ฟังเสียงประชาชนปี 61-62 นักกิจกรรม ชี้ หลักเกณฑ์การรับรองเพศไม่ยึดโยงเจ้าของปัญหา เสนอแนะให้ร่างพ.ร.บ.การรับรองเพศควรรวดเร็ว-โปร่งใส–ง่ายต่อการเข้าถึง-มีกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชน  
ปัญหาการกีดกันกลุ่ม LGBT ทั่วโลกยังหนัก
อ่าน

ปัญหาการกีดกันกลุ่ม LGBT ทั่วโลกยังหนัก

นักกิจกรรมชี้ ผู้ลี้ภัย LGBT จากซีเรียถูกกระทำหนัก ด้าน LGBT ในอินเดียประสบปัญหาได้รับค่าจ้างน้อยกว่าค่าแรงขั้นต่ำ ต้องจ่ายค่าส่วยให้ผู้มีอิทธิพล มีความเสี่ยงต่อหลักประกันชีวิตที่ไม่แน่นอน ข้อมูลสำรวจจาก UN พบมีแค่ 20 ประเทศที่มีกฎหมายห้ามเลือกปฏิบัติต่อ LGBT
ทำไมความรุนแรงทางเพศที่เกิดขึ้นกับผู้หญิง ผู้หญิงกลับเป็นฝ่ายถูกตั้งคำถาม
อ่าน

ทำไมความรุนแรงทางเพศที่เกิดขึ้นกับผู้หญิง ผู้หญิงกลับเป็นฝ่ายถูกตั้งคำถาม

จากข่าวข่มขืนนักศึกษาธรรมศาสตร์ นำมาสู่การวิเคราะห์ปัญหาความรุนแรงทางเพศว่า ความรุนแรงเรื่องเพศต่อผู้หญิง ถูกล้อมด้วย ‘อคติ’ ทางเพศของสังคม ไม่ใช่ ‘ปัญหาส่วนตัว’  แต่เป็นปัญหา ‘โครงสร้างของรัฐ’ และชวนคิดถึงหญิงที่พิการ หรือหญิงเป็นแรงงานข้ามชาติ ที่จะยิ่งพบอุปสรรคในกระบวนการยุติธรรมของไทย
เปิดดูวิจัย การรังแกกลุ่มนักเรียน LGBT ในโรงเรียนระดับมัธยมศึกษาของไทย
อ่าน

เปิดดูวิจัย การรังแกกลุ่มนักเรียน LGBT ในโรงเรียนระดับมัธยมศึกษาของไทย

รายงานการวิจัยเผยให้เห็นว่านักเรียน 'LGBT' มากกว่าครึ่งเคยถูกรังแกเพราะว่าเป็น 'LGBT' และ 1 ใน 4 ของนักเรียนที่ถูกมองว่าเป็น 'LGBT' ก็ถูกรังแกด้วยสาเหตุเดียวกัน
พ.ร.บ.ความเท่าเทียมฉบับ “ลักทั้งตื่น”
อ่าน

พ.ร.บ.ความเท่าเทียมฉบับ “ลักทั้งตื่น”

เครือข่ายของศูนย์ทนายความเพื่อสิทธิมนุษยชนตั้งข้อสังเกตว่า พ.ร.บ.ความเท่าเทียมระหว่างเพศ พ.ศ.2558 ซึ่งมีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 9 กันยายน 2558 อาจเป็นการ “ฟอกชมพู” ที่ดูเหมือนจะมีพัฒนาการทางความเท่าเทียมระหว่างเพศ แต่กลับมีส่วนที่ไม่คุ้มครองสิทธิเสรีภาพของประชาชนอยู่
ร่างพ.ร.บ.ความเท่าเทียมระหว่างเพศ ‘ขุดของเก่ามาเน่าใหม่’
อ่าน

ร่างพ.ร.บ.ความเท่าเทียมระหว่างเพศ ‘ขุดของเก่ามาเน่าใหม่’

ร่างพ.ร.บ.ความเท่าเทียมระหว่างเพศ ไม่ใช่เพิ่งถูกเสนอขึ้นมาในสนช. แต่ภาครัฐพยายามผลักดันมานานแล้ว ขณะเดียวกันถูกวิพากษ์วิจารณ์อย่างหนักจนภาคประชาชนเคยเข้าชื่อเสนอกฎหมายเข้าไปแข่งด้วยมาแล้ว