6313698599_f40f8b3346_b
อ่าน

ศาลปกครองเสียงแตก 3-2 ไม่รับคำฟ้องคดีเพิกถอนประกาศ กกต.

แหล่งข่าวจากศาลปกครองสูงสุดเพิ่งเผยแพร่เอกสารที่ชี้ว่า จากคำพิพากษา "ไม่รับคำฟ้อง" ที่กลุ่มนักเคลื่อนไหวยื่นขอให้เพิกถอนประกาศ กกต.เรื่องห้ามการแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประชามตินั้น เบื้องหลังพบว่าคำพิพากษานี้ออกมา "ไม่เป็นเอกฉันท์" ด้วยเสียง 3-2
Monitor Referendum
อ่าน

ชวนทุกคน #ส่องประชามติ ร่วมกัน 7 สิงหานี้

ลงประชามติ 7 สิงหาคมนี้ ชวนทุกคนไปใช้สิทธิสังเกตการณ์ประเด็นต่างๆ จดบันทึก และส่งข้อมูลมายัง "เครือข่ายสังเกตการณ์ประชามติ" ร่วมเป็นส่วนหนึ่งจับตากิจกรรมทางการเมืองที่สำคัญครั้งนี้
Bittersweetb4referendum-thumbnail
อ่าน

รวมตลกร้ายก่อนประชามติ: ทั้งขำขื่นและสะอื้นเศร้า

โค้งสุดท้ายแล้วก่อนถึงวันลงประชามติ 7 สิงหาคม 2559 มีข่าวที่ฮอตฮิตติดลมบนชนิดที่มีให้เห็นกันทุกวันและสื่อก็เอามาเล่นกันแทบจะทุกช่องจน 'กลบ' ประเด็นสำคัญเกี่ยวกับร่างรัฐธรรมนูญอย่างชะงักงัน ก็คือข่าว 'การกระทำแปลกๆ' ที่เกิดขึ้นกับการลงประชามติ ทั้งที่ตั้งใจและไม่ตั้งใจทำ หนำซ้ำไม่ได้จำกัดเฉพาะ 'คน' ที่กระทำด้วยสิ
Admin Court order
อ่าน

ศาลปกครองไม่รับฟ้อง ชี้ผู้ฟ้องคดีไม่เสียหาย สั่ง กกต.แจงสังคมให้ชัดว่า การฝ่าฝืนประกาศไม่มีโทษ

ศาลปกครองสูงสุดสั่งไม่รับฟ้อง คดีที่ไอลอว์และภาคประชาสังคมฟ้องขอให้เพิกถอนประกาศห้ามแสดงความเห็นของ กกต. ชี้ผู้ฟ้องคดีไม่เสียหาย ไม่มีอำนาจฟ้อง ไอลอว์รับผลออกมาเช่นนี้เพราะเทคนิคทางกฎหมาย แต่พร้อมทำกิจกรรมต่อเพื่อยืนยันเสรีภาพการแสดงออก
Afraid
อ่าน

ด้วยข้อเท็จจริง ไม่ใช่ ‘ศิโรราบ’ เพราะหวาดกลัว

ความกลัวที่เรากำลังพูดถึงนี้ ไม่ใช่เฉพาะที่เกิดขึ้นในใจของคนที่คิดจะออกไปรณรงค์หรือแสดงความเห็นเกี่ยวกับร่างรัฐธรรมนูญ จากการจับกุมและดำเนินคดีที่มีอยู่ แต่เป็นความกลัวที่กำลังผลักให้เราก้าวเข้าคูหาไปกากบาท รับ/ไม่รับ รัฐธรรมนูญฉบับปราบโกงนี้ มาดูกันดีกว่าว่าคนไทยกลัวอะไรอยู่บ้าง
Administrate Court
อ่าน

ภาคประชาสังคมฟ้องศาลปกครองสูงสุด ขอเพิกถอนประกาศ กกต. จำกัดเสรีภาพรณรงค์ประชามติ

iLaw ควง สสส. นักวิชาการ นักกิจกรรม ยื่นฟ้องศาลปกครองสูงสุด ขอเพิกถอนประกาศ กกต. เนื่องจากจำกัดเสรีภาพในการแสดงความเห็นเรื่องประชามติเกินความจำเป็น ทำให้ทำกิจกรรมรณรงค์หรือขายเสื้อไม่ได้ พร้อมขอให้ระงับการออกอากาศรายการ “7 สิงหา ประชามติร่วมใจ” เพราะให้น้ำหนักข้างเดียว
If constitutional court judge referendum act section 61 paragraph 2
อ่าน

สรุปเหตุผลของศาลรัฐธรรมนูญ ทำไม พ.ร.บ.ประชามติฯ ถึงไม่ขัดรัฐธรรมนูญ

หลังจากเมื่อวันที่ 29 มิถุนายน ศาลรัฐธรรมนูญมีมติเอกฉันท์ พ.ร.บ.ประชามติฯ มาตรา 61 วรรคสอง ไม่ขัดรัฐธรรมนูญ จนกระทั่งวันที่ 4 กรกฎาคม ศาลรัฐธรรมนูญได้เผยแพร่ร่างคำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญที่ ๔/๒๕๕๙ (อย่างไม่เป็นทางการ) ออกมา ไอลอว์สรุปเหตุผลของศาลรัฐธรรมนูญว่า ทำไม พ.ร.บ.ประชามติฯ ถึงไม่ขัดรัฐธรรมนูญ
Yes No Prachamati
อ่าน

iLaw เผยผลสำรวจ ร้อยละ 90 ไม่รู้เรื่อง ‘คำถามพ่วง’ และกว่าครึ่งไม่รู้วันลงประชามติ

ไอลอว์ทำการสุ่มสำรวจอย่างไม่เป็นทางการ อยากรู้ว่าคนในสังคมตื่นตัวเรื่องการทำประชามติขนาดไหนในบรรยากาศที่การรณรงค์เป็นไปได้ยาก พบร้อยละ 70 ไม่ทราบวันลงประชามติ ร้อยละ 90 ไม่รู้เรื่องคำถามพ่วง
Referendum Thai-style
อ่าน

ประชามติไทยสไตล์: โหวตเยส รัฐประหาร ร่างรัฐธรรมนูญ

7 สิงหาคม 2559 จะเป็นประชามติครั้งที่สองของประเทศไทย หลังจากที่ครั้งแรกเกิดขึ้นเมือเดือนสิงหาคม ปี 2550 การออกเสียงประชามติทั้งสองครั้งเกิดขึ้นภายใต้การควบคุมของรัฐบาลทหาร แต่บรรยากาศการแสดงความคิดเห็นและการรณรงค์ก็มีความแตกต่างกันในระดับหนึ่ง อะไรคือความเหมือนอะไรคือความต่าง
Constitution Court press release
อ่าน

ไอลอว์ยืนยัน พ.ร.บ.ประชามติฯ มาตรา 61 ขัดหลักเสรีภาพ ขอทุกฝ่ายเปิดให้ประชาชนรณรงค์ได้

หลังศาลรัฐธรรมนูญเผยแพร่ข่าวว่า ตุลาการมีมติเอกฉันท์ว่า พ.ร.บ.ประชามติฯ มาตรา 61 วรรคสอง ส่วนที่เกี่ยวกับเสรีภาพการรณรงค์ ไม่ขัดต่อรัฐธรรมนูญ ในฐานะผู้ยื่นเรื่องให้ตีความ นี่เป็นความเห็นของไอลอว์