53264884900_ab6b450ad8_k
อ่าน

ศาลตัดสิน 3 นักกิจกรรมผิดฐานปราศรัยดูหมิ่นศาล รอลงโทษ 2 คน จำคุก 1 คน

17 ตุลาคม 2566 ศาลอาญานัดสามนักกิจกรรม ณัฐชนน ไพโรจน์ เบนจา อะปัญ และสมยศ พฤกษาเกษมสุข ฟังคำพิพากษาในคดีที่ทั้งสามถูกกล่าวหาในความผิดดูหมิ่นศาล จากกรณีร่วมการชุมนุมและปราศรัยใน #ม็อบ30เมษา ที่หน้าศาลอาญาเพื่อเรียกร้องสิทธิในการปล่อยตัวชั่วคราวให้กับพริษฐ์ ชิวารักษ์หรือเพนกวิน นอกจากความผิดฐานดูหมิ่นศาลแล้วทั้งสามยังถูกกล่าวหาในความผิดอื่น รวมทั้งข้อหาฝ่าฝืนข้อกำหนดห้ามชุมนุมตามพ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ข้อหาใช้เครื่องเสียงโดยไม่ได้รับอนุญาต และข้อหามั่วสุมกันตั้งแต่สิบคนก่อความวุ่นวาย โดยศาลอาญามีคำพิพากษาว่าจำเลยทั้งสามคนทำความผิดฐานดูหมิ่นศาล ส่วนความผิดฐานฝ่าฝืนข้อกำหนดตามพ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ และความผิ
53262154719_78f9d85621_k
อ่าน

Recap คดีดูหมิ่นศาล กรณีนักกิจกรรมปราศรัยเรียกร้องสิทธิการประกันตัวนักโทษการเมืองที่ศาลอาญา

1. วันที่ 17 ตุลาคม 2566 ศาลอาญานัด ณัฐชนน ไพโรจน์ เบนจา อะปัญ และสมยศ พฤกษาเกษมสุข ฟังคำพิพากษาในคดีดูหมิ่นศาลตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 198 จากกรณีที่ทั้งสามร่วมชุมนุมและปราศรัยที่หน้าศาลอาญาเมื่อวันที่ 30 เมษายน 2564 เพื่อเรียกร้องสิทธิในการปล่อยตัวชั่วคราวให้กับจำเลยคดีการเมืองรวมทั้งคดีมาตรา 112 ที่ถูกคุมขังอยู่ในขณะนั้น
DSC_0120
อ่าน

เก็บตกงานเสวนา เสาหลักต้องเป็นหลักอันศักดิ์สิทธิ์ – ศาลคือหน่วยงานสาธารณะที่ต้องถูกวิจารณ์และตรวจสอบโดยสาธารณะ

วันที่ 7 ตุลาคม 25…
อ่าน

Thailand Post Election: เมื่อตุลาการเริ่มตอบโต้การวิพากษ์วิจารณ์ด้วยกฎหมาย

สถาบันตุลาการหรือศาลได้กลายเป็นส่วนหนึ่งของความขัดแย้งทางการเมือง เมื่อต้องทำหน้าที่ตีความกฎหมาย พิจารณาตัดสินคดี ปัญหาเกิดขึ้นเพราะหลังการรัฐประหาร ผู้มีอำนาจซึ่งไม่มีความชอบธรรมในทางการเมืองมักออกกฎหมายกดปราบผู้ต่อต้าน จึงเป็นการผลักให้ศาลต้องเผชิญหน้ากับประชาชนโดยตรง และเสียงวิพากษ์วิจารณ์ก็ย่อมดังขึ้นกว่าเดิม   วิธีการที่ศาลหรือหน่วยงานภาครัฐเลือกใช้ในการจัดการกับหรือตอบโต้คำวิพากษ์วิจารณ์ของประชาชนกลับเป็นมาตรการทางกฎหมาย ทำให้หลังการรัฐประหารคดีความเกี่ยวกับการ “ดูหมิ่นศาล” หรือ “ละเมิดอำนาจศาล” เพิ่มขึ้น ยิ่งหลังการเลือกตั้ง ศาลฎีกาและศาลรั
51188015477_0936524fb6_c
อ่าน

ดูหมิ่นศาล-ละเมิดอำนาจศาล กฎหมายปกป้องศาลจากการวิจารณ์

เมื่อสถาบันศาลกลายมาเป็นผู้เล่นตัวหนึ่งในความขัดแย้งทางการเมือง ผู้ที่เสียเปรียบทางการเมืองจึงมักถูกลากให้ยืนตรงข้ามกับสถาบันศาลไปด้วย ความผิดฐาน “ดูหมิ่นศาล” และความผิดฐาน “ละเมิดอำนาจศาล” จึงเข้ามามีบทบาทสำคัญเพื่อปิดกั้นการเคลื่อนไหวและการวิพากษ์วิจารณ์