สิทธิชุมชนในร่าง รธน.หาย ภาคประชาชนหวั่นอนาคตไร้ช่องทางเรียกร้องสิทธิ
อ่าน

สิทธิชุมชนในร่าง รธน.หาย ภาคประชาชนหวั่นอนาคตไร้ช่องทางเรียกร้องสิทธิ

ภาคประชาชนระบุในงานเสวนา “เมื่อสิทธิชุมชนในร่างรัฐธรรมนูญหายไป ชาวบ้านจะพึ่งพาใคร?” เมื่อร่างรัฐธรรมนูญ 2559 ไม่เขียนเรื่องสิทธิชุมชน ชาวบ้านไร้สิทธิปกป้องทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม หวั่นหลังรัฐธรรมนูญผ่านประชามติ คำสั่งหัวหน้า คสช. ทั้งหมดกลายเป็นกฎหมาย ทั้งที่มีเนื้อหาละเมิดสิทธิชัดเจนและปิดกั้นเสียงประชาชน
จับตากระแสวิพากษ์วิจารณ์รัฐธรรมนูญฉบับ ‘มีชัย’
อ่าน

จับตากระแสวิพากษ์วิจารณ์รัฐธรรมนูญฉบับ ‘มีชัย’

ภายหลังที่มีการเผยแพร่ร่างรัฐธรรมนูญฉบับแรกของ “มีชัย ฤชุพันธุ์” ไม่นานกระแสวิพากษ์วิจารณ์ร่างรัฐธรรมนูญก็ทยอยออกมาไม่ว่าจะเป็นความเห็นจากอดีตสมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ นักการเมือง พรรคการเมือง นักวิชาการ นักกฎหมาย และภาคประชาสังคม ทั้งนี้ เราได้ทำการรวบรวมความเห็นส่วนหนึ่งไว้เพื่อสะท้อนมุมมองของแต่ละฝ่ายว่ามีความเห็นต่อร่างรัฐธรรมนูญอย่างไร
ใครร่างนั้นสำคัญไฉน?: เปรียบเทียบคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญสามชุดในรอบ 20 ปี
อ่าน

ใครร่างนั้นสำคัญไฉน?: เปรียบเทียบคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญสามชุดในรอบ 20 ปี

ประวัติศาสตร์ฉบับย่อ เกี่ยวกับคณะกรรมาธิการร่างรัฐธรรมนูญ 3 ชุด และการร่างรัฐธรรมนูญในรอบ 20 ปี น่าจะช่วยเราตอบคำถามว่า ผู้ร่างรัฐธรรมนูญที่พึงปรารถนาควรมีที่มาอย่างไร? ประกอบด้วยกลุ่มบุคคลแบบใด? และเราจะยังวนเวียนอยู่กับนักร่างรัฐธรรมนูญหน้าเก่าต่อไปอีกหรือ?
“สนช.” แถลงผลงาน 1 ปี ปัดเป็นสภาตรายางใต้ท็อปบูท แย้มอาจมีสมาชิกนั่ง “กรรมการร่างรัฐธรรมนูญ”
อ่าน

“สนช.” แถลงผลงาน 1 ปี ปัดเป็นสภาตรายางใต้ท็อปบูท แย้มอาจมีสมาชิกนั่ง “กรรมการร่างรัฐธรรมนูญ”

พรเพชร วิชิตชลชัย ประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ( สนช.) สุรชัย เลี้ยงบุญเลิศชัย รองประธานสนช.คนที่ 1 และพีระศักดิ์ พอจิต รองประธานสนช.คนที่ 2 พร้อมด้วยประธานคณะกรรมาธิการ (กมธ.) สามัญประจำสนช.ทั้ง 16 คณะ ร่วมกันแถลงสรุปผลงาน สนช. ครบ 1 ปี ตั้งแต่วันที่ 7 สิงหาคม 2557 – 7 สิงหาคม 2558
ความเห็นทางกฎหมายของศูนย์ทนายความเพื่อสิทธิมนุษยชน ตอนที่ 3: ร่างรัฐธรรมนูญไม่สอดคล้องกับอุดมการณ์ประชาธิปไตย
อ่าน

ความเห็นทางกฎหมายของศูนย์ทนายความเพื่อสิทธิมนุษยชน ตอนที่ 3: ร่างรัฐธรรมนูญไม่สอดคล้องกับอุดมการณ์ประชาธิปไตย

ศูนย์ทนายความเพื่อสิทธิมนุษยชนออกความเห็นต่อร่างรัฐธรรมนูญว่า “ไม่สอดคล้องกับอุดมการณ์รัฐธรรมนูญแบบประชาธิปไตย” มีแต่จะทำให้รัฐบาลขาดเสถียรภาพ จำกัดอำนาจของผู้แทนประชาชน รวมไปถึงมีกลไกพิเศษยึดอำนาจอย่างชอบธรรม
“นักวิชาการ” ซัดร่างรัฐธรรมนูญเป็นประชาธิปไตยแค่เสี้ยวใบ “คปป.” ไม่มีที่อยู่ในประชาธิปไตย ชี้ “กองทัพ ตำรวจ ศาลรธน.” หลุดพ้นการตรวจสอบ
อ่าน

“นักวิชาการ” ซัดร่างรัฐธรรมนูญเป็นประชาธิปไตยแค่เสี้ยวใบ “คปป.” ไม่มีที่อยู่ในประชาธิปไตย ชี้ “กองทัพ ตำรวจ ศาลรธน.” หลุดพ้นการตรวจสอบ

ศูนย์ศึกษาการพัฒนาสังคมร่วมกับหลายองค์กร จัดงานเสวนา “วิเคราะห์ร่างรัฐธรรมนูญ  2558 กับทิศทางการปฏิรูปการเมืองไทย: ทางออกหรือทางตัน” ท่ามกลางบรรยากาศที่สปช.กำลังจะลงมติว่าจะเห็นชอบกับร่างนี้หรือไม่ในวันที่ 6 กันยายน 2558 
ความเห็นศูนย์ทนายความเพื่อสิทธิมนุษยชนต่อร่างรัฐธรรมนูญ: ตอนที่2 ความบกพร่องทางเนื้อหาของร่างรธน.
อ่าน

ความเห็นศูนย์ทนายความเพื่อสิทธิมนุษยชนต่อร่างรัฐธรรมนูญ: ตอนที่2 ความบกพร่องทางเนื้อหาของร่างรธน.

การทำรัฐประหารเป็นสิ่งที่ไม่ชอบด้วยรัฐธรรมนูญและระบอบประชาธิปไตย และขั้นตอนการยกร่างรัฐธรรมนูญไม่มีความชอบธรรม เนื่องจากองค์กรที่เข้ามามีส่วนร่วมในการยกร่าง ไม่มีองค์กรใดที่มีจุดเชื่อมโยงกับประชาชน รวมถึงขั้นตอนการลงประชามติยังขัดหลักการลงคะแนนเสียงโดยเสรี
ความเห็นศูนย์ทนายความเพื่อสิทธิมนุษยชนต่อร่างรัฐธรรมนูญ: ตอนที่ 1 ที่มาและขั้นตอนการยกร่างรัฐธรรมนูญ
อ่าน

ความเห็นศูนย์ทนายความเพื่อสิทธิมนุษยชนต่อร่างรัฐธรรมนูญ: ตอนที่ 1 ที่มาและขั้นตอนการยกร่างรัฐธรรมนูญ

ปัจจุบันความเคลื่อนไหวของร่างรัฐธรรมนูญฉบับถาวรดำเนินถึงขั้นตอนที่ยกร่างรัฐธรรมนูญรายมาตราทั้งฉบับเสร็จสิ้นแล้วและนำร่างรัฐธรรมนูญดังกล่าวเสนอต่อสภาปฏิรูปแห่งชาติ ณ ช่วงเวลานี้เนื้อหาของร่างรัฐธรรมนูญได้ปรากฏต่อสาธารณชนอย่างเป็นทางการ  โดยศูนย์ทนายความเพื่อสิทธิมนุษยชนมีความเห็นต่อความไม่ชอบธรรมทางประชาธิปไตยและความบกพร่องทางเนื้อหาของร่างรัฐธรรมนูญ 4 ประการ 
ร่างรัฐธรรมนูญใหม่ นวัตกรรมที่สุดยอดมาก
อ่าน

ร่างรัฐธรรมนูญใหม่ นวัตกรรมที่สุดยอดมาก

คำตอบของผู้ร่าง รธน. ฉบับใหม่ เรียกว่ามีความคิดสร้างสรรค์ยิ่งกว่า รธน. ฉบับใดๆ ในอดีต เรียกได้ว่าเป็นนวัตกรรมที่สุดยอดมาก ผมพอเข้าใจเหตุผลที่สุดยอดของผู้ร่าง เพียงแต่ผมอดคิดไม่ได้ว่า คำถามของยูเป็นคำถามที่ผิดอะนะ
คณะรัฐประหารสืบทอดอำนาจกันอย่างไรในรัฐธรรมนูญ?
อ่าน

คณะรัฐประหารสืบทอดอำนาจกันอย่างไรในรัฐธรรมนูญ?

รัฐธรรมนูญฉบับใหม่ถูกกล่าวหาว่ามีการสืบทอดอำนาจ ซึ่งไม่ใช่ครั้งแรกในการเมืองไทยที่มีการกล่าวหาเรื่องนี้ เราจะย้อนกลับไปดูว่ารัฐธรรมนูญที่ถูกร่างขึ้นหลังการรัฐประหาร (รัฐธรรมนูญฉบับปี 2492, 2511, 2521, 2534 และ 2550) เขาสืบทอดอำนาจอย่างไร? และผลจากการสืบทอดอำนาจเป็นอย่าง?