ถาม-ตอบ กฎหมายเลือกตั้ง : หลัง 2 กุมภาฯก็ยังเปิดสภาไม่ได้
อ่าน

ถาม-ตอบ กฎหมายเลือกตั้ง : หลัง 2 กุมภาฯก็ยังเปิดสภาไม่ได้

อีกไม่กี่วันก็จะถึงกำหนดวันเลือกตั้งที่มีความสำคัญอีกครั้งหนึ่ง และหลังจากการเลือกตั้งล่วงหน้า ที่มีการขัดขวางการเลือกตั้งของผู้ชุมนุมกลุ่มกปปส. ที่ต้องการให้มีปฏิรูปก่อนเลือกตั้ง ก็พอจะเห็นได้ลางๆ ว่า วันเลือกตั้งทั่วไปที่จะถึงนี้ ผู้ที่ต้องการไปใช้สิทธิเลือกตั้งก็คงไม่สามารถใช้สิทธิได้อย่างสะดวกง่ายดายเช่นที่ผ่านมา
iLawforum : ชวนคิด ชวนแชร์ “รัฐประหาร…แล้วยังไง?”
อ่าน

iLawforum : ชวนคิด ชวนแชร์ “รัฐประหาร…แล้วยังไง?”

ท่ามกลางอุณหภูมิทางการเมืองที่คุกรุ่นขึ้นทุกขณะ ข่าวลือเรื่องการรัฐประหารก็หนาหูขึ้นเป็นเงาตามตัว คงไม่มีใครอยากเห็นการรัฐประหาร แต่ถ้าเหตุการณ์ที่ว่าเกิดขึ้น เราจะทำอะไร และประเทศจะไปทางไหน วันอาทิตย์ที่ 12 ม.ค. มาพูดคุยเรื่องนี้พร้อมกันในโซเชียลเน็ตเวิร์ค หนึ่งทุ่มเป็นต้นไป #รัฐประหาร #ilawforum
ติดตามหลากหลายข้อเสนอ “ปฏิรูปยังไงดี?” เห็นอะไรในบทสนทนา
อ่าน

ติดตามหลากหลายข้อเสนอ “ปฏิรูปยังไงดี?” เห็นอะไรในบทสนทนา

เก็บรวบรวมกว่า 200 ข้อเสนออันหลากหลาย จาก Facebook และ Twitter ในกิจกรรม iLawforum กับโจทย์ "ปฏิรูปยังไงดี" สะท้อนอะไรให้เห็นบ้างกับการเมืองไทยปัจจุบันที่ทั้งรัฐบาลและผู้ชุมนุมเรียกร้องหาการ "ปฏิรูปประเทศไทย"
ประกาศแนวทางจัดเรตรายการโทรทัศน์ : จัดเรตแล้วจะยังต้องแบนอีกไหม?
อ่าน

ประกาศแนวทางจัดเรตรายการโทรทัศน์ : จัดเรตแล้วจะยังต้องแบนอีกไหม?

กสทช.ออกหลักเกณฑ์การจัดทำผังรายการโทรทัศน์ก็แล้ว ออกแนวทางการจัดเรตรายการโทรทัศน์ก็แล้ว ปัญหาต่างๆ ยังคงอยู่หรือไม่? ประกาศทั้งสองฉบับแก้ปัญหาเดิม-ปกป้องเยาวชน-ส่งเสริมสื่อสร้างสรรค์ได้หรือไม่? อำนาจการแบนยังมีความจำเป็นอยู่หรือไม่?
iLawforum : ชวนคิด ชวนแชร์ “ปฏิรูปยังไงดี?”
อ่าน

iLawforum : ชวนคิด ชวนแชร์ “ปฏิรูปยังไงดี?”

ท่ามกลางการเมืองที่ร้อนละอุ ความเห็นแตกต่างกันหลากหลาย กิจกรรม #iLawforum ชวนใช้ Social Media แสดงออกอย่างสร้างสรรค์ ไม่ต้องเป็นกลาง แต่แชร์ความคิดออกมาอย่างเป็นรูปธรรม โต้เถียงซักถามกันได้ เพื่อให้เราเข้าใจกันมากขึ้น  22 ธ.ค.56 หนึ่งทุ่มถึงสามทุ่ม "ปฏิรูปยังไงดี?" มาคุยกัน #ureform
สมัชชาปกป้องประชาธิปไตย : เคารพกติกาประชาธิปไตย เข้าสู่การเลือกตั้ง ไม่เอาอำนาจให้คนกลาง
อ่าน

สมัชชาปกป้องประชาธิปไตย : เคารพกติกาประชาธิปไตย เข้าสู่การเลือกตั้ง ไม่เอาอำนาจให้คนกลาง

หลังการชุมนุมต่อต้าน พ.ร.บ.นิรโทษกรรมสุดซอย จนนำมาซึ่งการขับไล่รัฐบาลของกลุ่มที่เรียกว่า กปปส. โดยมีข้อเสนอการแก้วิกฤตการเมืองไทยในหลายด้านทั้งในเชิงเทคนิคกฎหมายและการเมือง อย่างไรก็ตามข้อเสนอของ กปปส. ได้เป็นถกเถียงอย่างกว้างในสังคม จึงนำมาซึ่งการรวมกลุ่มของสมัชชาประชาธิปไตยเพื่อเป็นอีกทางเลือกหนึ่งในการแก้วิกฤตรอบนี้   
หวั่น ขึ้นทะเบียนมรดกทางวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ ทำวัฒนธรรมตาย
อ่าน

หวั่น ขึ้นทะเบียนมรดกทางวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ ทำวัฒนธรรมตาย

หากร่างพ.ร.บ.ว่าด้วยมรดกทางวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ผ่านและมีผลบังคับใช้ อาจกระทบต่อการสร้างงานวัฒนธรรมใหม่ๆ และอาจเป็นทางตันของงานวัฒนธรรมร่วมสมัย  
ผู้ใช้ชีวิตในที่สาธารณะ: เพราะเขาคือคนเหมือนเรา
อ่าน

ผู้ใช้ชีวิตในที่สาธารณะ: เพราะเขาคือคนเหมือนเรา

ภาครัฐและองค์กรพัฒนาเอกชนร่วมกันจัดกิจกรรม "มหกรรมวันผู้ใช้ชีวิตในที่สาธารณะ" เพื่อรณรงค์ให้สังคมตระหนักรู้ว่าผู้ใช้ชีวิตในที่สาธารณะก็มีศักดิศรีความเป็นคนเท่าเทียมกับคนอื่นๆ พร้อมทั้งเสนอแนวทางเพื่อปรับปรุงนโยบายและการดูแลผู้ใช้ชีวิตในที่สาธารณะให้ดียิ่งขึ้น 
กฤษฎีกาติง วธ. เขียนร่างวัฒนธรรมจับต้องไม่ได้ อย่าบิดเจตนารมณ์ยูเนสโก
อ่าน

กฤษฎีกาติง วธ. เขียนร่างวัฒนธรรมจับต้องไม่ได้ อย่าบิดเจตนารมณ์ยูเนสโก

กฤษฎีกาชี้ อนุสัญญาของยูเนสโกไม่มีปัญหา ขอกระทรวงวัฒนธรรมอย่าบิดเบือน  นักวิชาการห่วง ร่างกฎหมายนี้จะปิดกั้นความคิดของศิลปิน กระทรวงวัฒนธรรมย้ำ ร่างนี้หากส่วนใหญ่ไม่พอใจยังแก้ไขได้อีก
ความล้าหลังของพ.ร.บ.คณะสงฆ์ พ.ศ. 2505
อ่าน

ความล้าหลังของพ.ร.บ.คณะสงฆ์ พ.ศ. 2505

ปัญหาความเสื่อมโทรมของวงการพุทธศาสนาไทยที่ได้รับการวิพากษ์วิจารณ์อย่างกว้างขวางในสังคม ทั้งนี้ข้อสรุปส่วนใหญ่ของปัญหามักโยน ‘ความผิด’ หรือ ‘บาป’ ให้กับพระสงฆ์และประชาชนทั่วไป แม้ข้อสรุปดังกล่าวจะไม่ผิดแต่ก็ได้ละเลยต้นเหตุ คือ พ.ร.บ.คณะสงฆ์ พ.ศ.2505 อันเป็นส่วนสำคัญของความเสื่อมที่เกิดขึ้นในพุทธศาสนาไทยขณะนี้