53264884900_ab6b450ad8_k
อ่าน

ศาลตัดสิน 3 นักกิจกรรมผิดฐานปราศรัยดูหมิ่นศาล รอลงโทษ 2 คน จำคุก 1 คน

17 ตุลาคม 2566 ศาลอาญานัดสามนักกิจกรรม ณัฐชนน ไพโรจน์ เบนจา อะปัญ และสมยศ พฤกษาเกษมสุข ฟังคำพิพากษาในคดีที่ทั้งสามถูกกล่าวหาในความผิดดูหมิ่นศาล จากกรณีร่วมการชุมนุมและปราศรัยใน #ม็อบ30เมษา ที่หน้าศาลอาญาเพื่อเรียกร้องสิทธิในการปล่อยตัวชั่วคราวให้กับพริษฐ์ ชิวารักษ์หรือเพนกวิน นอกจากความผิดฐานดูหมิ่นศาลแล้วทั้งสามยังถูกกล่าวหาในความผิดอื่น รวมทั้งข้อหาฝ่าฝืนข้อกำหนดห้ามชุมนุมตามพ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ข้อหาใช้เครื่องเสียงโดยไม่ได้รับอนุญาต และข้อหามั่วสุมกันตั้งแต่สิบคนก่อความวุ่นวาย โดยศาลอาญามีคำพิพากษาว่าจำเลยทั้งสามคนทำความผิดฐานดูหมิ่นศาล ส่วนความผิดฐานฝ่าฝืนข้อกำหนดตามพ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ และความผิ
53262154719_78f9d85621_k
อ่าน

Recap คดีดูหมิ่นศาล กรณีนักกิจกรรมปราศรัยเรียกร้องสิทธิการประกันตัวนักโทษการเมืองที่ศาลอาญา

1. วันที่ 17 ตุลาคม 2566 ศาลอาญานัด ณัฐชนน ไพโรจน์ เบนจา อะปัญ และสมยศ พฤกษาเกษมสุข ฟังคำพิพากษาในคดีดูหมิ่นศาลตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 198 จากกรณีที่ทั้งสามร่วมชุมนุมและปราศรัยที่หน้าศาลอาญาเมื่อวันที่ 30 เมษายน 2564 เพื่อเรียกร้องสิทธิในการปล่อยตัวชั่วคราวให้กับจำเลยคดีการเมืองรวมทั้งคดีมาตรา 112 ที่ถูกคุมขังอยู่ในขณะนั้น
53236588986_eaed3fbfea_o
อ่าน

รวมคดีประชาชนสู้กลับ ฟ้องเพิกถอนข้อกำหนด ‘ห้ามชุมนุม’ ตามพ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ

เครือข่าย People Go ฟ้องเพิกถอนข้อกำหนด “ห้ามชุมนุม” อ้างจำกัดสิทธิเสรีภาพจนเกินสมควรแก่เหตุ   คำขอ : เพิกถอนการขยายเวลาประกาศใช้ พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ และเพิกถอนข้อกำหนดตามพ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ฉบับที่ 1
2566-10-02 14
อ่าน

กลไกศาลในการตรวจสอบอำนาจพ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ยังต่ำเกณฑ์ เปิดช่องโหว่การใช้กำลังขัดหลักสากล

วันที่ 1 ตุลาคม 2566 เวลา 13.30 น. ไอลอว์จัดเสวนาเนื่องในวันครบรอบหนึ่งปีที่รัฐบาลพล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชายกเลิกประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินที่ออกตามความพ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ โดยมีผู้แลกเปลี่ยนทั้งผู้ที่ถูกดำเนินคดี (อ่านเพิ่มเติม) ทนายความและอาจารย์ผู้เชี่ยวชาญด้านกฎหมายอย่างพัขร์ นิยมศิลป์ อาจารย์ประจำคณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในบรรดาคดีพ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ จำนวนมาก พัชร์เป็นพยานทีไปให้ความเห็นในฐานะผู้เชี่ยวชาญไม่น้อยกว่า 40 คดี ชวนอ่านประสบการณ์การเป็นพยานในคดีและมุมมองทางกฎหมายของพัชร์  
After One Year 1
อ่าน

เลิกใช้พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ครบ 1 ปี แต่คดีความยังไม่เคยเลิก

29 กันยายน 2566 เป็นวันครบรอบหนึ่งปีเต็มพอดีๆ ที่มีประกาศยกเลิกการใช้ #พรกฉุกเฉิน ที่พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา ประกาศใช้ โดยตอนแรกบอกเพื่อการควบคุมโรคโควิด19 แต่ในทางปฏิบัติถูกนำมาใช้อย่างหนักกับการควบคุมการชุมนุมทางการเมือง
53218643924_b52346b055_o
อ่าน

รวม 8 สส. เข้าสภาพร้อมบ่วงคดี “พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ” เครื่องมือคุมม็อบในยุคโควิด-19

สถานการณ์ประเทศไทยในปี 2563 – 2565 ตกอยู่ภายใต้การระบาดของโรคโควิด 19 ที่กระทบไปทุกภาคส่วนทำให้พระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ.
IMG_7039
อ่าน

ศาลแพ่งสั่งสตช.ชดใช้ค่าเสียหาย 2 สื่อถูกกระสุนยาง #ม็อบ18กรกฎา ระบุไม่ใช้ตามยุทธวิธี ปราศจากความระมัดระวัง

  วันที่ 26 กันยายน 2566 เวลา 9.00 น.
53198296914_bf15f17c51_z
อ่าน

ย้อนสำรวจคดี #เทใจให้เทพา เมื่อคำพิพากษาระบุว่า “การชุมนุมเป็นเสรีภาพพื้นฐานที่จำเป็น”

ย้อนกลับไปเมื่อวันที่ 27 พฤศจิกายน 2560 ได้มีเหตุการณ์ตำรวจใช้กำลังเข้าสลายการชุมนุมของประชาชนครั้งสำคัญ การชุมนุมนี้ตั้งชื่อว่า #เทใจให้เทพา โดยประชาชนในอำเภอเทพา จังหวัดสงขลา ที่ต้องการคัดค้านก่อสร้างโรงไฟฟ้าถ่านหินเทพาเนื่องจากเกรงผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ทำกิจกรรมเดินเท้าจากบ้านเพื่อไปยื่นหนังสือต่อพล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา
2020 movement's in political scenario after 2023 election
อ่าน

ทบทวนก่อนก้าวต่อ: ขบวนการเคลื่อนไหวยุคปี 63 สู่บริบทการเมืองหลังการเลือกตั้ง 66

แนวร่วมธรรมศาสตร์และการชุมนุมและนักเรียนเลวถอดบทเรียนการเคลื่อนไหวช่วงปี 2563 – 2564 ก่อนมองไปถึงทิศทางหลังการเลือกตั้ง 66