คู่มือแก้รัฐธรรมนูญ 2560: สี่เหตุผลต้องยกเลิกยุทธศาสตร์ชาติ
อ่าน

คู่มือแก้รัฐธรรมนูญ 2560: สี่เหตุผลต้องยกเลิกยุทธศาสตร์ชาติ

ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี หรือ “ยุทธศาสตร์ คสช.” เป็นอีกหนึ่งประเด็นในรัฐธรรมนูญ 2560 ที่สมควรถูกแก้ไขหรือยกเลิก แม้รัฐบาล คสช. จะตอกย้ำว่าจะเป็นหลักสำคัญในการพัฒนาประเทศให้มีความต่อเนื่อง แต่เวลาไม่นานหลังการประกาศใช้ก็แสดงให้เห็นชัดว่ายุทธศาสตร์ชาติฉบับนี้ไม่สามารถป้องกันประเทศจากวิกฤติต่างๆ ได้
แก้ปัญหาการทำงานที่บกพร่องของ กกต. ต้องแก้รัฐธรรมนูญ
อ่าน

แก้ปัญหาการทำงานที่บกพร่องของ กกต. ต้องแก้รัฐธรรมนูญ

18 กรกฎาคม 2563 กลุ่ม New Consensus Thailand ได้จัดเวทีสาธารณะในหัวข้อ “กกต. ไทย อย่างไรต่อดี” วงเสวนาได้กล่าวถึงสภาพปัญหาเชิงโครงสร้างของ กกต. อำนาจนิยมที่แอบแฝงอยู่ในโครงสร้าง การทำงานของ กกต. ที่ขาดมาตรฐานชัดเจน และหนทางแก้ไขปัญหาทั้งระยะสั้นและระยะยาว
นิติรัตน์ ทรัพย์สมบูรณ์ – สามัญชนผู้ใฝ่ฝันถึงรัฐสวัสดิการ เพื่อลบล้างมรดกความจนให้หายไป
อ่าน

นิติรัตน์ ทรัพย์สมบูรณ์ – สามัญชนผู้ใฝ่ฝันถึงรัฐสวัสดิการ เพื่อลบล้างมรดกความจนให้หายไป

ยิ่งในภาวะโควิดที่ไม่ใช่ทุกคนเข้าถึงบริการสาธารณสุขได้ เสียงเพรียกหาสวัสดิการถ้วนหน้าจึงยิ่งดังขึ้น และ นิติรัตน์ ทรัพย์สมบูรณ์ จาก wefair คืออีกหนึ่งฟันเฟืองสำคัญที่มุ่งขับเคลื่อนผลักดันแนวคิดรัฐสวัสดิการให้เกิดขึ้นในสังคมไทย
ครช. เข้าพบ กมธ.แก้รัฐธรรมนูญ ยืนยันต้องล้างมรดก คสช.
อ่าน

ครช. เข้าพบ กมธ.แก้รัฐธรรมนูญ ยืนยันต้องล้างมรดก คสช.

24 มิถุนายน 2563 เวลา 10.30 น. ภาคประชาชนนำโดยกลุ่ม ครช. ได้จัดกิจกรรม “ทวงคืนมรดกคณะราษฎร ทวงคืนสัญญารัฐธรรมนูญประชาชน” ณ บริเวณหน้าอาคารรัฐสภา เพื่อยื่นหนังสือทวงถามความคืบหน้าในการแก้รัฐธรรมนูญต่อ กมธ.แก้รัฐธรรมนูญฯ
6 ปี คสช.: มอง ‘ระบอบ คสช.’ ผ่าน 6 เสาค้ำจุนอำนาจ
อ่าน

6 ปี คสช.: มอง ‘ระบอบ คสช.’ ผ่าน 6 เสาค้ำจุนอำนาจ

22 พฤษภาคม 2557 คณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) นำโดย พล.อ. ประยุทธ์ จันทร์โอชา ยึดอำนาจรัฐบาลยิ่งลักษณ์ ชินวัตร ที่มาจากการเลือกตั้ง ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของการสถาปนาอำนาจ “ระบอบ คสช.” ที่พยายามเปลี่ยนผ่านอำนาจแบบเผด็จการเต็มใบไปสู่ระบอบเผด็จการซ่อนรูป ในวาระครบรอบ 6 ปี เราขอทบทวนโครงสร้างอำนาจที่ คสช. ถูกออกแบบไว้ให้คณะรัฐประหารสามารถอยู่กับสังคมไทยได้ไปอีกหลายปี
การดิ้นรนของคนจนเมืองใน “รัฐสงเคราะห์”
อ่าน

การดิ้นรนของคนจนเมืองใน “รัฐสงเคราะห์”

นุชนารถ แท่นทอง ที่ปรึกษาเครือข่ายสลัมสี่ภาค มองวิกฤติโควิดส่งผลต่อการดำเนินชีวิตของคนจนเมืองและคนไร้บ้าน ทั้งภาวะความเครียด หนี้สิน และปัญหาปากท้อง รวมไปถึงปัญหาเรื่องการช่วยเหลือเยียวยาที่ไม่ตรงจุด ล่าช้า ไม่ทันท่วงที อันเกิดจากรัฐธรรมนูญที่มีกรอบเป็นยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ซึ่งส่งผลให้การบริหารงานในวิกฤติครั้งนี้ปราศจากการมีส่วนร่วมของประชาชนผู้ประสบปัญหา
วงเสวนาชี้ วิกฤติโควิด-19 สะท้อนภาวะอ่อนแอของรัฐธรรมนูญปี 60
อ่าน

วงเสวนาชี้ วิกฤติโควิด-19 สะท้อนภาวะอ่อนแอของรัฐธรรมนูญปี 60

ในวิกฤติการระบาดของโรคโควิด-19 ได้สะท้อนให้เห็นจุดอ่อนของรัฐธรรมนูญ ปี 2560 ที่ออกแบบมาให้พรรคการเมืองที่เป็นรัฐบาลขาดความชอบธรรมเพราะไม่ใช่พรรคที่มีตัวแทนมากที่สุดในสภา และการต้องไปรวมเสียงกับพรรคเสียงข้างน้อยยิ่งทำให้รัฐบาลอ่อนแอ ไม่เป็นเอกภาพ เมื่อผนวกกับรัฐราชการรวมศูนย์ยิ่งทำให้การตอบสนองปัญหาของประชาชนไม่สมบูรณ์ ขณะเดียวกัน วิกฤติโควิดยังทำให้ต้องพิจารณาทบทวนแนวคิดเรื่องรัฐสวัสดิการ และการพัฒนาอย่างยั่งยืนและมุ่งเน้นการมีส่วนร่วม
เปิด 4 โมเดล “สสร.” เพื่อร่างรัฐธรรมนูญฉบับประชาชน
อ่าน

เปิด 4 โมเดล “สสร.” เพื่อร่างรัฐธรรมนูญฉบับประชาชน

ในปี 2563 ทั้งภาคประชาชนและกลุ่มนักเรียน นิสิต นักศึกษาจากทั่วประเทศ ได้มีข้อเสนออย่างหนึ่งที่ตรงกันว่า ต้องการให้มีการร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ โดยให้มีสภาร่างรัฐธรรมนูญ หรือ สสร. ที่มาจากการเลือกตั้งโดยตรงจากประชาชน แต่ทว่ายังไม่มีรายละเอียดของรูปแบบและวิธีการได้มาซึ่ง สสร.
ก่อนท้องฟ้าจะสดใส: ข้อเสนอหนทางกลับสู่ “ประชาธิปไตย” ต้องแก้ไขรัฐธรรมนูญ
อ่าน

ก่อนท้องฟ้าจะสดใส: ข้อเสนอหนทางกลับสู่ “ประชาธิปไตย” ต้องแก้ไขรัฐธรรมนูญ

สถานการณ์ทางการเมืองต้นปี 2563 เกิดกระแสความไม่พอใจต่อการครองอำนาจแบบเผด็จการของรัฐบาล คสช.2 แผ่ขยายวงกว้างไปทั่ว ไอลอว์เสนอให้ผู้ที่กำลังทำกิจกรรมเรียกร้องประชาธิปไตยช่วยกันพิจารณาข้อเสนอเรื่องการแก้ไขรัฐธรรมนูญชุดนี้ ในฐานะหนทางหนึ่งที่จะกลับสู่ประชาธิปไตย
ประชาชนอยากลดอำนาจศาลรัฐธรรมนูญ ต้องร่วมกันแก้รัฐธรรมนูญเท่านั้น
อ่าน

ประชาชนอยากลดอำนาจศาลรัฐธรรมนูญ ต้องร่วมกันแก้รัฐธรรมนูญเท่านั้น

ศาลรัฐธรรมนูญยุบพรรคอนาคตใหม่ ถอนสิทธิกรรมการพรรคเป็นเวลา 10 ปี จากกรณี ธนาธร จึงรุ่งเรืองกิจ ให้พรรคกู้เงิน คดีนี้อยู่ในอำนาจศาลรัฐธรรมนูญ ซึ่งการแก้ไขอำนาจหน้าที่ศาลสามารถทำได้ผ่านการแก้ไขรัฐธรรมนูญเท่านั้น แต่ต้องทำประชามติก่อน และศาลรัฐธรรมนูญเองยังมีอำนาจวินิจฉัยข้อเสนอชี้ขาดได้ด้วย