จับตาพิจารณา #งบประมาณปี65 วาระสอง-สาม ลุ้นตัดงบหลายหน่วยงาน โปะงบกลางโควิด-19 16,362 ล้านบาท
อ่าน

จับตาพิจารณา #งบประมาณปี65 วาระสอง-สาม ลุ้นตัดงบหลายหน่วยงาน โปะงบกลางโควิด-19 16,362 ล้านบาท

18-20 ส.ค. 2564 ที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎรมีนัดพิจารณาร่างพ.ร.บ.งบประมาณ ปี 2565 วาระสอง ลงมติรายมาตรา และวาระสาม โดยการพิจารณาในครั้งนี้จะเป็นนัดสำคัญที่ "เคาะ" ตัวเลขงบประมาณแต่ละหน่วยงาน และ "เคาะ" ว่าจะโยกงบที่ตัดจากหลายหน่วยงานไปโปะงบกลาง รายการรับมือโควิด-19 หรือไม่  
ส่องกฎหมายจัดตั้งศาลปกครองฯ แก้ไขใหม่ เพิ่มอำนาจกรรมการบริหารศาลปกครองออกระเบียบ “ค่าตอบแทนพิเศษ”
อ่าน

ส่องกฎหมายจัดตั้งศาลปกครองฯ แก้ไขใหม่ เพิ่มอำนาจกรรมการบริหารศาลปกครองออกระเบียบ “ค่าตอบแทนพิเศษ”

ชวนดูพ.ร.บ. จัดตั้งศาลปกครองฯ ฉบับล่าสุด ประกาศเมื่อ 26 พฤษภาคม 2564 แก้ไขเพิ่มเติมอำนาจคณะกรรมการบริหารศาลปกครอง ในสามารถออกระเบียบระเบียบเกี่ยวกับ “เงินค่าตอบแทนพิเศษและสิทธิประโยชน์” ได้
เปิดกฎหมายอุทยานและคุ้มครองสัตว์ป่าฉบับใหม่ ภาคต่อนโยบาย “ทวงคืนผืนป่า” ของคสช.
อ่าน

เปิดกฎหมายอุทยานและคุ้มครองสัตว์ป่าฉบับใหม่ ภาคต่อนโยบาย “ทวงคืนผืนป่า” ของคสช.

เปิดพ.ร.บ.อุทยานแห่งชาติ พ.ศ. 2562 และพ.ร.บ.สงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2562 กฎหมายใหม่ที่ผ่านในยุค คสช. เพื่อสานต่อนโยบาย "ทวงคืนผืนป่า" มาพร้อมกับอัตราโทษที่แรงขึ้นกว่ากฎหมายเก่าและให้อำนาจเจ้าหน้าที่ตรวจค้นได้โดยไม่มีหมายหากเข้าเงื่อนไขตามกฎหมาย
ตามทันประเด็นร้อนผ่านข้อกฎหมาย ทำความเข้าใจ มาตรา 144 และปัญหาของ “งบกลาง”
อ่าน

ตามทันประเด็นร้อนผ่านข้อกฎหมาย ทำความเข้าใจ มาตรา 144 และปัญหาของ “งบกลาง”

จากข้อเถียงของกมธ. งบประมาณปี 65 ในประเด็นการนำงบที่ถูกตัดไปโปะ "งบกลาง" ชวนอ่านข้อเขียนจาก อานันท์ กระบวนศรี นักศึกษาปริญญาโท กฎหมายมหาชน  ประเทศฝรั่งเศส ที่เขียนอธิบายถึงขอบเขตการแปรญัตติตัดลดงบประมาณ ตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 144 และการนำไปโปะงบรายการอื่น ปัญหาของ “งบกลาง” และความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นหากตัดลดงบประมาณและนำไปใส่ในงบกลาง
เปิดเงินเดือนและสวัสดิการผู้พิพากษาศาลยุติธรรม ชีวิตดีๆ บนภาษีประชาชน
อ่าน

เปิดเงินเดือนและสวัสดิการผู้พิพากษาศาลยุติธรรม ชีวิตดีๆ บนภาษีประชาชน

การทำงานของผู้พิพากษาจะต้องเป็นอิสระไม่ถูกแทรกแซง การกำหนดเงินเดือน และสวัสดิการผู้พิพากษาจึงต้องกำหนดให้ผู้พิพากษาดำรงชีพได้อย่างไม่เดือดร้อน แต่เงินเหล่านั้น ก็มาจากงบประมาณของแผ่นดิน
รัฐปราบ “ข่าวปลอม” เหตุล้มเหลวปราบโควิด-19 ฉวยกฎหมายปิดปากผู้เห็นต่างดึงความนิยม
อ่าน

รัฐปราบ “ข่าวปลอม” เหตุล้มเหลวปราบโควิด-19 ฉวยกฎหมายปิดปากผู้เห็นต่างดึงความนิยม

29 กรกฎาคม 2564 เวลา 13.00 น. องค์กรวิชาชีพสื่อจัดเสวนาหัวข้อ “หยุดอ้างข่าวปลอม หยุด พ.ร.ก.ฉุกเฉินคุกคามเสรีภาพสื่อ-ประชาชน” ประเด็นสืบเนื่องจากข้อกำหนดนายกรัฐมนตรีฉบับที่ 27 ข้อ 11 เรื่อง ข้อห้ามนำเสนอข่าวสารที่ทำให้ประชาชนเกิดความหวาดกลัว หรือบิดเบือนให้เข้าใจผิดในสถานการณ์ฉุกเฉินฯ
เสียงจากนักเรียนนายร้อยตำรวจ ในวันที่ความฝันพังทลาย
อ่าน

เสียงจากนักเรียนนายร้อยตำรวจ ในวันที่ความฝันพังทลาย

ในสภาวะที่สถาบันตำรวจต้องเผชิญกับการเปลี่ยนผ่านและแรงกดดันจากสังคม เราชวน “เอก” ข้าราชการตำรวจ มาพูดคุยถึงความฝัน  ความเห็นต่อการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในโรงเรียนนายร้อยตำรวจ และมุมมองของเขาในฐานะตำรวจรุ่นใหม่ที่มีต่อสถาบันตำรวจท่ามกลางความขัดแย้งทางการเมืองในปัจจุบัน
ข้อกำหนดพ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ใหม่ ให้อำนาจ กสทช. สั่ง ISP “ตัดเน็ต” ผู้โพสต์สร้างความหวาดกลัว
อ่าน

ข้อกำหนดพ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ใหม่ ให้อำนาจ กสทช. สั่ง ISP “ตัดเน็ต” ผู้โพสต์สร้างความหวาดกลัว

ข้อกำหนดพ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ฉบับที่ 29 ให้อำนาจ กสทช. สั่ง ISP “ตัดเน็ต” ผู้โพสต์สร้างความหวาดกลัว
“คุกซ้อนคุก” ชีวิตผู้ต้องขังในโควิดระลอกที่ 3
อ่าน

“คุกซ้อนคุก” ชีวิตผู้ต้องขังในโควิดระลอกที่ 3

คุณ “บี” อดีตผู้ต้องขังหญิงแดนใน ทัณฑสถานหญิงกลางชวนไอลอว์เล่าถึงสถานการณ์ #โควิดเรือนจำ ที่เธอประสบระหว่างถูกคุมขังโดยหวังว่าคำบอกเล่าของเธอจะทำให้สถานการณ์ในเรือนจำได้รับความสนใจจากสาธารณชนซึ่งจะกระตุ้นให้ภาครัฐหาทางแก้ไขปรับปรุงสถานการณ์ให้ดีขึ้น 
เปิดนิยาม-แยกองค์ประกอบ “ความผิดฐานนำเข้าข้อมูลเท็จ” ตาม พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ
อ่าน

เปิดนิยาม-แยกองค์ประกอบ “ความผิดฐานนำเข้าข้อมูลเท็จ” ตาม พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ

การออกมาวิพากษ์วิจารณ์การทำงานของรัฐบาลในช่วงวิกฤติจะถือเป็นเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นที่ประชาชนพึงมีตามรัฐธรรมนูญก็ตาม แต่รัฐบาลก็มีความพยายามในการตีความเอาผิดการแสดงออกดังกล่าวด้วยเช่นกัน ซึ่งหนึ่งในกฎหมายที่ถูกนำมากล่าวอ้างเพื่อจำกัดเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นก็คือ “พ.ร.บ.ว่าด้วยการกระทำความผิดทางคอมพิวเตอร์