ร่าง พ.ร.บ.แก้ไข ป.วิอาญา การปล่อยตัวชั่วคราว “เพิ่มโทษซ้ำ หากหนีประกัน”
อ่าน

ร่าง พ.ร.บ.แก้ไข ป.วิอาญา การปล่อยตัวชั่วคราว “เพิ่มโทษซ้ำ หากหนีประกัน”

ร่าง พ.ร.บ.แก้ไข ป.วิอาญา การปล่อยตัวชั่วคราว เข้าสู่การพิจารณาของ สนช. ในวาระแรก ซึ่งสมาชิกสนช.ได้ร่วมกันเสนอ โดยสาระสำคัญคือ ให้ศาลพิจารณาให้ประกันตัวผู้ตัองหา โดยไม่ต้องพิจารณาเรื่องหลักประกัน ทั้งนี้หากหนีประกันก็จะมีโทษอีกเช่นกัน 
ต้องไม่มีใครติดคุกเพราะจน
อ่าน

ต้องไม่มีใครติดคุกเพราะจน

เครือข่ายปฏิรูปการประกันตัวเพื่อคนจน จัดงานเสวนา “ปฏิรูปการประกันตัวเพื่อความเสมอภาคในสังคม : ร่วมกันแสวงหามาตรการทดแทนการขังระหว่างพิจารณา” เสนอเปลี่ยนระบบใช้เงินประกันตัว เป็นการออกแบบฐานข้อมูลประเมินความเสี่ยงหลบหนี ช่วยคนไม่มีเงินไม่ต้องติดคุก 
ศาลฎีกานักการเมืองฯ โฉมใหม่ เพิ่มเงื่อนไขเพียบมุ่งเอาผิดจำเลยหนีคดี
อ่าน

ศาลฎีกานักการเมืองฯ โฉมใหม่ เพิ่มเงื่อนไขเพียบมุ่งเอาผิดจำเลยหนีคดี

กฎหมายลูกเรื่องศาลฎีกาแผนกคดีอาญาผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง ประกาศใช้แล้ว ให้ศาลเป็นผู้ค้นหาความจริงเอง ขั้นตอนรับฟังพยานหลักฐานยืดหยุ่นได้หมด เพิ่มเงื่อนไขเอาผิดจำเลยหนีคดี พิจารณาลับหลังได้ – ไม่จำกัดอายุความ ยื่นอุทธรณ์ได้อีกหนึ่งชั้น
ยุค คสช. แก้ประมวล “วิ.อาญา” แล้ว 4 ครั้ง เพื่อความยุติธรรมหรือจำกัดอำนาจทางการเมือง?
อ่าน

ยุค คสช. แก้ประมวล “วิ.อาญา” แล้ว 4 ครั้ง เพื่อความยุติธรรมหรือจำกัดอำนาจทางการเมือง?

ยุค คสช. มีการแก้ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาถึงสี่ครั้ง โดยประกาศของคณะรัฐประหาร หนึ่งครั้ง และแก้โดยการออกพ.ร.บ.แก้ไขเพิ่มเติม โดย สนช. ที่แต่งตั้งโดยคณะรัฐประหารอีกสามครั้ง ซึ่งมีข้อสังเกตถึงการแก้กฎหมายฉบับนี้ว่าเป็นการแก้เพื่อจำกัดอำนาจทางการเมืองของบุคคลบางกลุ่มหรือไม่
สองปีคดีระเบิดราชประสงค์: สืบพยานได้ปากเดียว จาก 447 ปาก คำสารภาพยังถูกกังขาเมื่อจำเลยสื่อสารภาษาไม่ได้
อ่าน

สองปีคดีระเบิดราชประสงค์: สืบพยานได้ปากเดียว จาก 447 ปาก คำสารภาพยังถูกกังขาเมื่อจำเลยสื่อสารภาษาไม่ได้

เหตุระเบิดที่ศาลพระพรหมเอราวัณเมื่อ 17 สิงหาคม 2558 ตามมาด้วยการจับกุมผู้ต้องหาชาวอุยกูร์สองคน และขังไว้ในค่ายหทาร เอาคดีขึ้นศาลทหาร ซึ่งไม่มีทีท่าว่าจะรู้ผลคดีได้ในชั่วชีวิตของพวกเขา
อัพเกรดกฎหมายอาญา! เพิ่มโทษปรับ 10 เท่าทั้งฉบับ ฐานทุจริตโทษปรับขั้นต่ำเพิ่ม 50 เท่า
อ่าน

อัพเกรดกฎหมายอาญา! เพิ่มโทษปรับ 10 เท่าทั้งฉบับ ฐานทุจริตโทษปรับขั้นต่ำเพิ่ม 50 เท่า

สนช. “ยกเครื่อง” กฎหมายอาญาทีเดียวทั้งฉบับ เพิ่มค่าปรับขึ้น 10 เท่าทุกฐานความผิด แถมพิเศษ ความผิดฐานเจ้าหน้าที่รัฐทุจริต เพิ่มค่าปรับขั้นต่ำ 50 เท่า
ทางเลือกของคนทางเลือกน้อย: “กองทุนยุติธรรม” ช่วยคนไม่มีเงินประกัน – ถูกคุมขังฟรี
อ่าน

ทางเลือกของคนทางเลือกน้อย: “กองทุนยุติธรรม” ช่วยคนไม่มีเงินประกัน – ถูกคุมขังฟรี

ในอดีตปัญหาคนติดคุกฟรีถือเป็นเรื่องของความ “โชคร้าย” เพราะไม่มีกฎหมายกำหนดให้ภาครัฐเยียวยาผู้ที่ถูกคุมขังระหว่างพิจารณาคดีที่ศาลพิพากษายกฟ้อง ในปัจจุบันสถานการณ์เปลี่ยนไปในทางที่ดีโดยมีการจัดตั้งกองทุนยุติธรรมให้ความช่วยเหลือเงินประกันตัวกับผู้มีรายได้น้อยหรือเยียวยาคนถูกฝากขังที่อัยการสั่งไม่ฟ้องกับสำนักงานช่วยเหลือทางการเงินฯเพื่อช่วยเหลือผู้ถูกคุมขังแต่ศาลยกฟ้องซึ่งการทำความรู้จักกับหน่วยงานทั้งสองน่าจะมีประโยชน์ในยาม ‘ฉุกเฉิน’
ถนนยุติธรรมที่แสน “ขรุขระ” และ “ทอดยาว” ของผู้ต้องหาประชามติ
อ่าน

ถนนยุติธรรมที่แสน “ขรุขระ” และ “ทอดยาว” ของผู้ต้องหาประชามติ

21 มีนาคม 2560 ศาลจังหวัดราชบุรีสั่งห้ามจดบันทึกคำเบิกความและการสืบพยานคดีสติกเกอร์โหวตโน ความผิดตาม พ.ร.บ.ประชามติฯ แม้อาจจะลดการมีส่วนร่วมของประชาชนในกระบวนการยุติธรรม
เสวนา “คำพิพากศาล” นักวิชาการชี้ รัฐใช้ ม.112 เป็นกลไกสร้างความกลัว – การบังคับใช้กฎหมายขึ้นอยู่กับว่า คุณเป็นใคร?
อ่าน

เสวนา “คำพิพากศาล” นักวิชาการชี้ รัฐใช้ ม.112 เป็นกลไกสร้างความกลัว – การบังคับใช้กฎหมายขึ้นอยู่กับว่า คุณเป็นใคร?

สาวตรี สุขศรี คณะนิติศาสตร์ มธ. กล่าวในงานเสวนา "คำพิพากศาล" ว่า กฎหมายอาญามาตรา 112 เป็นกลไกรัฐในการสร้างความกลัว และเป็นกระบวนการยุติธรรมเชิงบีบบังคับให้จนมุม ด้าน สมชาย ปรีชาศิลปกุล คณะนิติศาสตร์ มช. มองว่าปัจจุบันสังคมไทยอยู่ในภาวะ 1 ระบบ 3 มาตรฐาน การบังคับใช้กฎหมายต่างๆ ขึ้นอยู่กับว่า บังคับใช้กับใคร กลุ่มประชาชนทั่วไป ผู้ต่อต้าน หรือสนับสนุนรัฐ
เสวนา “ละเมิดอำนาจศาล” จำเลยชี้ ศาลใช้ดุลยพินิจกว้างเกินไป งานศึกษา ป.โท เผยศาลใช้อำนาจ ‘วันสต็อปเซอร์วิส’
อ่าน

เสวนา “ละเมิดอำนาจศาล” จำเลยชี้ ศาลใช้ดุลยพินิจกว้างเกินไป งานศึกษา ป.โท เผยศาลใช้อำนาจ ‘วันสต็อปเซอร์วิส’

สุดสงวน หรือ อาจารย์ตุ้ม ผู้เคยถูกพิพากษาจากคดีละเมิดอำนาจศาล ชี้ ศาลใช้ดุลยพินิจในคดีละเมิดอำนาจศาลกว้างเกินไป ด้าน นศ.ป.โท เปิดงานวิจัย พบแนวฎีกา การกระทำประพฤติตนไม่เรียบร้อยใน-นอกบริเวณศาล ชี้ ความผิดฐานละเมิดอำนาจศาลคล้ายวันสต็อปเซอร์วิส (one stop service) ศาลเห็นเอง พิจารณาเอง พิพากษาเองได้