ห้ามวิจารณ์ศาลรัฐธรรมนูญ โทษจำคุก มาได้ยังไง? : ศาลรัฐธรรมนูญไม่ได้ขอ – กรธ. ไม่ได้ให้เอง
อ่าน

ห้ามวิจารณ์ศาลรัฐธรรมนูญ โทษจำคุก มาได้ยังไง? : ศาลรัฐธรรมนูญไม่ได้ขอ – กรธ. ไม่ได้ให้เอง

ข้อค้นพบจากงานเสวนาชี้ให้เห็นความสับสนในที่มา เมื่อตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ บอกว่า ไม่ต้องการโทษจำคุกสำหรับความผิดฐานละเมิดอำนาจศาล แต่กรรมการร่างรัฐธรรมนูญกลับบอกว่า ไม่ได้เป็นคนใส่เพิ่มขึ้นมา ขณะกฎหมายที่ประกาศใช้กำหนดให้การวิจารณ์ศาลรัฐธรรมนูญโดยไม่สุจริตมีโทษจำคุก 1 เดือน
14 ปี ทนายสมชายหาย: กฎหมายต่อต้านการอุ้มหายยังไม่คืบหน้า ใช้มติคณะรัฐมนตรีตั้งกรรมการทำงานไปก่อน
อ่าน

14 ปี ทนายสมชายหาย: กฎหมายต่อต้านการอุ้มหายยังไม่คืบหน้า ใช้มติคณะรัฐมนตรีตั้งกรรมการทำงานไปก่อน

วันที่ 12 มีนาคม 2561 มีการจัดงานครบรอบ 14 ปี การหายตัวไปของทนายสมชาย นีละไพจิตร ที่คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ ในงานมีการวางดอกไม้รำลึกถึงทนายสมชาย โดยครอบครัว และมีเวทีเสวนาเรื่อง “พัฒนาการล่าสุดของ ร่าง พ.ร.บ.ป้องกันการทรมานและบังคับสูญหาย”
อ่าน

เห็นพ้อง ความผิดละเมิดอำนาจศาล ควรลดโทษจำคุก-เพิ่มโทษปรับ สร้างความชัดเจนมาตรฐานเดียว

งานเสวนาเรื่องกฎหมายละเมิดอำนาจศาล ผศ.เอื้ออารีย์ ชี้สถานการณ์ปัจจุบันขาดความชัดเจน ลงโทษซ้ำจากการกระทำเดียว พิจารณาคดีโดยไม่อิสระ ขัดต่อหลักสากล จรัญ เห็นพ้องด้วยควรแก้กฎหมาย ย้ายออกจากป.วิ.แพ่ง ไม่เน้นโทษจำคุก สร้างมาตรฐานกลางสำหรับทุกศาลให้ประชาชนเข้าใจได้
อ่าน

เปิดสามเหตุผลศาลรัฐธรรมนูญไม่รับคำร้องประชาชน กรณีถูกละเมิดสิทธิเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญ

หลังประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 สิ่งที่น่าสนใจอย่างหนึ่งในรัฐธรรมนูญฉบับนี้ตั้งแต่ก่อนลงประชามติรับร่างรัฐธรรมนูญคือเรื่อง การร้องตรงต่อศาลรัฐธรรมนูญของผู้ถูกละเมิดสิทธิเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญ แต่หลังจากประกาศใช้ศาลรัฐธรรมนูญยังไม่มีคำสั่งรับคำร้องโดยตรงจากผู้ถูกละเมิด จึงชวนมาดูเหตุผลกันว่าเหตุใดบ้างที่ศาลรัฐธรรมนูญจึงไม่รับคำร้องของประชาชน
คำสั่งศาลปกครองคดีเดินมิตรภาพ : ผลิตผลของวัฒนธรรมทางกฎหมายที่มาจากเบื้องล่าง
อ่าน

คำสั่งศาลปกครองคดีเดินมิตรภาพ : ผลิตผลของวัฒนธรรมทางกฎหมายที่มาจากเบื้องล่าง

คำสั่งศาลปกครองคดีเดินมิตรภาพในแง่หนึ่ง คือ ผลิตผลของการต่อสู้ทางวัฒนธรรมทางกฎหมาย  เป็นตัวอย่างที่แสดงให้เห็นว่ากฎหมายไม่ได้เป็นแต่เพียงเครื่องมือของรัฐในการกดขี่ประชาชน แต่ในบางบริบท บางสถานการณ์ ประชาชนสามารถพลิกกลับและใช้กฎหมายควบคุมรัฐได้เช่นกัน และด้วยการใช้กฎหมายควบคุมรัฐในคดีเดินมิตรภาพ ประชาชนได้แสดงให้เห็นว่าแม้อยู่ในสถานการณ์ที่ยากลำบากภายใต้รัฐเผด็จการ การพยายามต่อสู้เพื่อสร้างวัฒนธรรมทางกฎหมายแบบเสรีประชาธิปไตยยังเป็นไปได้
10 อันดับเหตุการณ์เด่นรอบปี 2560
อ่าน

10 อันดับเหตุการณ์เด่นรอบปี 2560

ส่งท้ายปี 2560 “ไอลอว์” ขอจัด 10 อันดับเหตุการณ์เด่นที่เป็นหมุดหมายสำคัญและส่งผลกระทบต่อความเป็นไปทางสังคมการเมืองไทย นี่คือทุกเรื่องที่สำคัญกับทุกคน และเป็นบทเรียนให้เราเรียนรู้ร่วมกัน อย่างน้อยเพื่อให้ยังไม่ลืมกันง่ายๆ
คนจนจะไม่หมดไป ตราบใดที่ความยากจนทางอำนาจยังดำรงอยู่
อ่าน

คนจนจะไม่หมดไป ตราบใดที่ความยากจนทางอำนาจยังดำรงอยู่

ในงาน’รำลึก วนิดา ตันติวิทยาพิทักษ์ : 10 ปีที่จากไป’ รศ.สมชาย ปรีชาศิลปกุล บรรยายพิเศษในหัวข้อ “รัฐธรรมนูญใช่บุญทำ ความทุกข์ยากใช่กรรมแต่ง” และเรื่องที่สอง ‘รัฐธรรมนูญที่กินไม่ได้แต่ทำให้ท้องอิ่ม’ ชี้ รัฐธรรมนูญต้องเป็นความหวัง แต่ฉบับนี้คนไม่รู้สึกว่ามีหวัง
สร้างข่าว สร้างความหวาดกลัว ได้ผลกว่ามาตรการทางกฎหมาย
อ่าน

สร้างข่าว สร้างความหวาดกลัว ได้ผลกว่ามาตรการทางกฎหมาย

นอกจากการใช้มาตรการทางกฎหมาย ในการจับกุมบุคคล และดำเนินคดี จากการแสดงความคิดเห็นทางการเมืองแล้ว รัฐบาล คสช. ยังใช้มาตรการทางสังคม หรือมาตรการทางจิตวิทยาในการสร้างบรรยากาศความหวาดกลัวต่อการแสดงความคิดเห็นและถกเถียงเรื่องการเมืองขึ้นมาในสังคมไทย ไม่ว่าจะโดยตั้งใจหรือวางแผนการมาอย่างดีหรือไม่ แต่การสร้างความบรรยากาศความหวาดกลัว ส่งผลต่อบรรยากาศการแสดงความคิดเห็นของประชาชนมากกว่า เมื่อคนเริ่มรู้สึกไม่มั่นใจว่าสามารถแสดงความคิดเห็นได้เพียงใด ก็จะเซ็นเซอร์ตัวเอง จนทำให้เรื่องการเมืองเป็นเรื่องที่ไม่ถูกพูดถึงกันในที่สาธารณะ
เมื่อ “ระบบข้อมูล” เอื้อให้ศาลสั่งประกันตัวโดยไม่ต้องวางเงินได้ ต่างประเทศวางระบบกันแบบนี้
อ่าน

เมื่อ “ระบบข้อมูล” เอื้อให้ศาลสั่งประกันตัวโดยไม่ต้องวางเงินได้ ต่างประเทศวางระบบกันแบบนี้

เปิดงานศึกษาตัวอย่างจากอเมริกา เคยมีระบบประกันตัวเหมือนไทยแต่เปลี่ยนสำเร็จ มาใช้ระบบประเมินความเสี่ยงแทนการวางเงิน จัดตั้งสำนักสืบเสาะข้อมูลโดยเฉพาะเพื่อนำเสนอศาล เก็บข้อมูลได้จริง รวดเร็ว ประเมินผลค่อนข้างแม่นยำ หลบหนีน้อย ใช้งบน้อยกว่าเอาคนไปขังคุก 
นักวิชาการซัด ประชารัฐเอื้อทุนใหญ่ ซ้ำเติมคนจน ส่อเหลื่อมล้ำหนัก
อ่าน

นักวิชาการซัด ประชารัฐเอื้อทุนใหญ่ ซ้ำเติมคนจน ส่อเหลื่อมล้ำหนัก

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ มีการจัดงานเสวนาเรื่อง “ประชารัฐคืออะไร เพื่อคนไทยหรือเพื่อนายทุน?” โดยมีผู้ร่วมพูดคุยคือ  ผศ.ดร.สามชาย ศรีสันต์ วิทยาลัยพัฒนศาสตร์ ป๋วย อึ๊งภากรณ์ ม.ธรรมศาสตร์, ดร.เดชรัต สุขกำเนิด ภาควิชาเศรษฐศาสตร์เกษตรและทรัพยากร คณะเศรษฐศาสตร์ ม.เกษตรศาสตร์, รศ.ดร.สุรวิช วรรณไกรโรจน์ ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร ม.เกษตรศาสตร์ และ ผศ.ดร.วาสนา วงศ์สุรวัฒน์ ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย