ร่าง พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการศาลยุติธรรม: แก้ไขกฎหมายชัดขึ้นให้ “ผู้พิพากษาบริหาร” กำหนดเบี้ยประชุม
อ่าน

ร่าง พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการศาลยุติธรรม: แก้ไขกฎหมายชัดขึ้นให้ “ผู้พิพากษาบริหาร” กำหนดเบี้ยประชุม

วันที่ 25 ตุลาคม 2561 ที่ประชุมสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สนช.) รับหลักการ ร่าง พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการศาลยุติธรรม (ฉบับที่ ….) ด้วยคะแนนเห็นชอบ 181 เสียง ไม่เห็นชอบ 0 เสียง เหตุผลของการเสนอ ร่าง พ.ร.บ.ฉบับนี้ คือ การเพิ่มอำนาจหน้าที่ให้คณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรม (ก.บ.ศ.) ให้สามารถออกระเบียบกำหนดเบี้ยประชุมสำหรับข้าราชการตุลาการซึ่งเข้าร่วมการประชุมใหญ่ในศาลชั้นอุทธรณ์หรือศาลฎีกา ทั้งนี้เพื่อให้สอดคล้องกับรัฐธรรมนูญ 2560 มาตรา 193 วรรคสอง ซึ่งบัญญัติให้ศาลยุติธรรมมีระบบเงินเดือนและค่าตอบแทนเป็นการเฉพาะตามความเหมาะสม
Tables of minor offenses charged against individuals who expressed political opinion
อ่าน

Tables of minor offenses charged against individuals who expressed political opinion

Under the NCPO regime, the restrictions on freedom of expression were instituted through  ‘legal’ procedures, in the aim of legitimising the military government. These ‘laws’ include new laws and special announcements and orders issued under the NCPO government.
อ่าน

วงเสวนาชี้ ‘วิสามัญฆาตกรรม’ หวั่นคนตายฟรี-กระบวนการยุติธรรมไม่โปร่งใส

14 กรกฎาคม 2561 องค์กรสิทธิมนุษยชนและภาคประชาสังคมรวมตัวกันจัดงานเสวนา วิสามัญฆาตกรรมและปริศนาความยุติธรรมทางอาญาที่ยังไม่เกิด เพื่อถอดบทเรียนการวิสามัญฆาตกรรมของชัยภูมิ ป่าแส นักกิจกรรมเยาวชนชาติพันธุ์ลาหู่ และอะเบ แซ่หมู่ ชาวชาติพันธุ์ลีซู ที่ตายอย่างปริศนา รวมทั้งตั้งข้อสังเกตถึงกระบวนการยุติธรรมไทยที่ไม่สามารถคืนความเป็นธรรมให้ญาติได้อย่างแท้จริง
คุยกับ “ทนายน้อยๆ” ผู้เผชิญหน้ากับกระบวนการที่ “ศาลทหาร” ตัดสินคดีพลเรือน
อ่าน

คุยกับ “ทนายน้อยๆ” ผู้เผชิญหน้ากับกระบวนการที่ “ศาลทหาร” ตัดสินคดีพลเรือน

ไอลอว์จัดรายการ คืนวันพุธ ปลดอาวุธคสช. โดยมีแขกรับเชิญเปฺ็นทนายอานนท์ นำภา ทนายที่ต้องต่อสู้คดีทางการเมืองให้ประชาชนที่ถูกจับไปขึ้นศาลทหาร จากการต่อต้านทหาร และผู้ผ่านประสบการณ์ต้องเป็นจำเลยในศาลทหารเอง
อ่าน

10 ข้อควรรู้เกี่ยวกับโทษประหารชีวิต ในกฎหมายไทย

ท่ามกลางบรรยากาศที่โทษประหารชีวิต ถูกนำกลับมาใช้ในทางปฏิบัติอีกครั้งในรอบเกือบสิบปี ทำให้สังคมไทยตื่นตัวถกเถียงกันเรื่องการประหารชีวิตกันอีกยกใหญ่ จึงชวนทำความรู้จักที่ทางของโทษประหารชีวิตในกฎหมายไทย เงื่อนไขและข้อยกเว้นในกรณีต่างๆ
เลื่อนไม่เลิก: การเลื่อนคดีของอัยการสร้างภาระที่เพิ่มขึ้นให้ผู้ต้องหา We Walk
อ่าน

เลื่อนไม่เลิก: การเลื่อนคดีของอัยการสร้างภาระที่เพิ่มขึ้นให้ผู้ต้องหา We Walk

5 มิถุนายน 2561 สำนักงานอัยการจังหวัดธัญบุรีแจ้งว่า ให้เลื่อนฟังคำสั่งว่าจะฟ้องคดีหรือไม่ฟ้องคดี ต่อแปดผู้ต้องหาจากการจัดกิจกรรม “We walk เดินมิตรภาพ” นับเป็นการเลื่อนฟังคำสั่งอัยการครั้งที่ห้าของคดีนี้ โดยนัดฟังคำสั่งอัยการอีกครั้ง ในวันที่ 3 กรกฎาคม 2561
ตารางการใช้กฎหมายเล็กๆ น้อยๆ ดำเนินคดีกับผู้แสดงความคิดเห็นทางการเมือง
อ่าน

ตารางการใช้กฎหมายเล็กๆ น้อยๆ ดำเนินคดีกับผู้แสดงความคิดเห็นทางการเมือง

ในยุค คสช. การปิดกั้นการแสดงความคิดเห็นของประชาชนถูกอ้างอิงและใช้อำนาจผ่าน “กฎหมาย” เพื่อสร้างความชอบธรรมให้กับรัฐบาลทหาร ทั้งกฎหมายที่ออกใหม่ภายใต้รัฐบาล คสช. ทั้ง ประกาศและคำสั่งของ คสช. ก็ถูกหยิบมาใช้ แต่ไม่เพียงเท่านั้น การกระทำเล็กน้อยที่ไม่ได้มุ่งหวังลงโทษให้สาสม แต่มุ่งหวังสร้างความยุ่งยาก เพิ่มภาระให้กับการเคลื่อนไหว คสช. ก็เอากฎหมายที่มีโทษไม่ร้ายแรงมาบังคับใช้ รวมทั้งการหยิบเอากฎหมายเก่าๆ มาใช้อย่างไม่ถูกต้องตามเจตนารมณ์แต่สร้างบรรยากาศความกลัวขึ้นมาได้
ไม่ใช่แค่ SLAPP ปิดปาก แต่กลั่นแกล้งด้วยกระบวนการยุติธรรม
อ่าน

ไม่ใช่แค่ SLAPP ปิดปาก แต่กลั่นแกล้งด้วยกระบวนการยุติธรรม

ในทางเสวนาเกี่ยวกับการฟ้องคดีปิดปาก หลายฝ่ายเห็นไปในทางเดียวกันว่า การปิดปากไม่ใช่แค่การ SLAPP แต่กระบวนการยุติธรรมทำให้คนที่ถูกฟ้องเดือดร้อน รู้สึกว่าเป็นภาระ เสียเวลา เสียค่าใช้จ่าย กระบวนการยุติธรรมถูกใช้เป็นเครื่องมือต่อรอง อาจเรียกลักษณะแบบนี้ว่า Judicial Harassment
อ่าน

ปฏิรูปตำรวจยุค คสช. ‘นับหนึ่งไม่ถึงร้อย’

การปฏิรูปตำรวจเป็นโจทย์ใหญ่ที่รัฐบาลทุกยุคทุกสมัยมีความพยายามจะแก้ไขมาโดยตลอด ไม่เว้นแม้กระทั่งรัฐบาลทหารอย่างคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.)
อ่าน

ศาลเสนอแก้ไขกฎหมาย ป.วิอาญา ป้องกัน ‘ประชาชนฟ้องแกล้งกัน’

17 เมษายน 2561 สุริยัณห์ หงษ์วิไล โฆษกศาลยุติธรรมออกมาเปิดเผยว่า สำนักงานศาลยุติธรรมมีการเสนอเเก้ไขประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา เพื่อป้องกันการใช้สิทธิฟ้องคดีอาญาโดยมีเจตนาไม่สุจริต โดยร่างกฎหมายดังกล่าวอยู่ในการพิจารณาของคณะกรรมการกฤษฎีกา และจะส่งให้คณะรัฐมนตรีพิจารณาต่อไป