เกิดอะไรขึ้นที่นามูล-ดูนสาด เมื่อสัมปทานปิโตรเลียมเคลื่อนเข้ามา ?
อ่าน

เกิดอะไรขึ้นที่นามูล-ดูนสาด เมื่อสัมปทานปิโตรเลียมเคลื่อนเข้ามา ?

การสำรวจและผลิตปิโตรเลียมในพื้นที่บ้านนามูล-ดูนสาด เป็นที่รับรู้โดยทั่วไปว่ามีการต่อต้านจากชาวบ้าน มีทหารเข้ามาในพื้นที่ มีเจ้าหน้าที่รัฐเข้ามาเกี่ยวข้อง แต่น้อยคนนักจะรู้ว่าเกิดอะไรขึ้นที่นี่ เราชวนรู้จักกับพื้นที่แห่งนี้ว่าพวกเขากังวลอะไรกับผลกระทบหากมีการขุดเจาะปิโตรเลียม
ชีวิตของคนชุมชนเพิ่มทรัพย์พัฒนา “มันใช้ชีวิตปกติไม่ได้แล้วตอนนี้”
อ่าน

ชีวิตของคนชุมชนเพิ่มทรัพย์พัฒนา “มันใช้ชีวิตปกติไม่ได้แล้วตอนนี้”

ชุมชนเพิ่มทรัพย์พัฒนา ตั้งอยู่ในเขตป่าสงวนแห่งชาติในจังหวัดสุราษฎร์ธานี หลังรัฐประหาร 2557 ชาวชุมชนต้องต่อสู้แย่งพื้นที่ทำกินกับนายทุน โดยการต่อสู้ที่กำลังดำเนินอยู่ชาวบ้านสงสัยว่าเจ้าหน้าที่รัฐในพื้นที่อาจร่วมมือกับนายทุนเพื่อขับไล่พวกเขา
แทนเสียงคนเดือดร้อน เมื่อรัฐ “ขอคืนพื้นที่ป่า” ของชุมชน
อ่าน

แทนเสียงคนเดือดร้อน เมื่อรัฐ “ขอคืนพื้นที่ป่า” ของชุมชน

"โนนดินแดง" เป็นพื้นที่หนึ่งที่ได้รับผลกระทบหลังจาก ประกาศคำสั่ง คสช. ฉบับที่ 64/2557 และ 66/2557 หรือ "แผนแม่บทป่าไม้" ทำให้ชาวบ้านมากมายถูกไล่ทีและไม่มีที่ทำกิน ลองฟังเสียงและเรื่องราวของชาวบ้านอีกครั้ง ว่าปัญหาในพื้นที่เป็นอย่างไร
แผ่นดินอุดมสมบูรณ์: สำรวจชุมชนที่รับผลกระทบจากรัฐ หลังรัฐประหาร 2557
อ่าน

แผ่นดินอุดมสมบูรณ์: สำรวจชุมชนที่รับผลกระทบจากรัฐ หลังรัฐประหาร 2557

หลังรัฐประหาร 22 พฤษภาคม 2557 ชุนชนหลายแห่งถูกละเมิดสิทธิจากเจ้าหน้าที่รัฐ เช่น การที่เจ้าหน้าที่รัฐบุกไล่รื้อชุมชน ตามนโยบายของรัฐบาล หรือ การที่เจ้าหน้าที่รัฐเป็นเครื่องมืออำนวยความสะดวกให้นายทุน ซึ่งมีชุมชนอย่างน้อย  22 แห่ง ที่ได้รับผลกระทบ
ร่าง พ.ร.บ.แร่ ‘เพราะประโยชน์ของชาติ (นายทุน ข้าราชการ)? ที่สำคัญกว่าชีวิตคน’
อ่าน

ร่าง พ.ร.บ.แร่ ‘เพราะประโยชน์ของชาติ (นายทุน ข้าราชการ)? ที่สำคัญกว่าชีวิตคน’

21 ต.ค. 2557 ครม.อนุมัติ หลักการร่าง พ.ร.บ.แร่ เสียงคัดค้านจากประชาชนผู้ที่ได้รับผลกระทบจากการทำเหมืองแร่ก็ดังขึ้น ประชาชนในหลายพื้นที่เรียกร้อง ให้ชะลอร่างกฎหมายฉบับนี้เข้าสู่ สนช. ให้ภาคประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม และรอสภาจากการเลือกตั้ง ขณะนี้ร่างกฎหมายฉบับดังกล่าวอยู่ในการดูแลของคณะกรรมการกฤษฎีกา     
“ติ่ง” กปปส. ขอปลุก “ความตื่นรู้” ปฏิรูปคอร์รัปชั่นในกิจการพลังงาน
อ่าน

“ติ่ง” กปปส. ขอปลุก “ความตื่นรู้” ปฏิรูปคอร์รัปชั่นในกิจการพลังงาน

คนกลุ่มหนึ่งเรียกร้องการปฏิรูปมาก่อนการชุมนุมของ กปปส. นานแล้ว พวกเขามีประเด็นเฉพาะในการทำงานคือ "กิจการพลังงาน" ข้อเสนอของพวกเขาชัดเจน แต่ยังขาดอำนาจทางการเมือง วันนี้พวกเขาจึงหวังเกาะขบวนการปฏิรูปของกปปส. แต่ยังไม่ประมาทว่าจะสำเร็จในเร็ววัน
คดีการชุมนุมที่หนองแซง: สิทธิตามรัฐธรรมนูญที่ถูกกดทับด้วยกฎหมายลูก
อ่าน

คดีการชุมนุมที่หนองแซง: สิทธิตามรัฐธรรมนูญที่ถูกกดทับด้วยกฎหมายลูก

หลังสิ้นคำพิพากษาศาลฎีกา ที่ลงโทษผู้ชุมนุมที่ประท้วงการก่อสร้างโรงไฟฟ้า ฐานปิดกั้นทางหลวงและใช้เครื่องเสียง ตี๋ ตรัยรัตนแสงมณี หนึ่งในจำเลยเห็นว่า แม้รัฐธรรมนูญจะรับรองสิทธิการชุมนุม แต่ก็ไม่ได้มีบทบัญญัติที่ชัดเจน อีกทั้งคำพิพากษาของศาลฎีกาก็ชี้ว่า ศาลรัฐธรรมนูญไม่เคยตีความหรือบัญญัติเรื่องการชุมนุมเอาไว้ สิทธิตามรัฐธรรมนูญจึงเป็นไปอย่างจำกัด
CHIA : ให้ชุมชนประเมินตนเอง ให้ชุมชนร่วมกำหนดอนาคต
อ่าน

CHIA : ให้ชุมชนประเมินตนเอง ให้ชุมชนร่วมกำหนดอนาคต

กระบวนการของประชาชนที่จัดทำข้อมูลในชุมชนด้วยตัวเอง สำหรับการประเมินผลกระทบด้านสุขภาพที่อาจเกิดขึ้นจากการก่อสร้างโครงการขนาดใหญ่ อีกหนึ่งช่องทางการมีส่วนร่วม ที่กำลังเติบโตและหาที่ยืนในกฎหมายของรัฐไทย
กฎหมายพลังงานทางเลือก : ปฏิวัติพลังงาน ด้วยพลังของภาคประชาชน
อ่าน

กฎหมายพลังงานทางเลือก : ปฏิวัติพลังงาน ด้วยพลังของภาคประชาชน

กรีนพีซเชิญร่วมลงชื่อ 55,555 คน ผลักดันกฎหมายพลังงานหมุนเวียน ชี้ต้องให้ทุกคน ทุกบ้านมีสิทธิผลิตพลังงานหมุนเวียนใช้เอง การบริหารจัดการระบบโครงข่ายไฟฟ้าต้องโปร่งใส ให้ความสำคัญกว่าไฟฟ้าจากถ่านหินหรือนิวเคลียร์
ลงชื่อ หยุดกรมประมงนิรโทษกรรมอวนลาก
อ่าน

ลงชื่อ หยุดกรมประมงนิรโทษกรรมอวนลาก

"อวนลาก" กวาดทุกสิ่งทุกอย่างและทำลายท้องทะเลไทยมานานแล้ว แต่กรมประมงกำลังจะเปิดให้เรืออวนลากมาจดทะเบียนให้ถูกต้องตามกฎหมาย สมาคมรักษ์ทะเลไทยขอให้ทุกคนลงชื่อส่งเสียงคัดค้านการกระทำดังกล่าวของกรมประมง