P-move แถลงจุดยืนร่างพ.ร.บ.อุทยานฯ ไม่เอื้อให้ชุมชนแสดงความคิดเห็น
อ่าน

P-move แถลงจุดยืนร่างพ.ร.บ.อุทยานฯ ไม่เอื้อให้ชุมชนแสดงความคิดเห็น

แถลงการณ์ขบวนการประชาชนเพื่อสังคมที่เป็นธรรม และเครือข่ายองค์กรพันธมิตร เรื่องขอให้รัฐบาลชะลอการผลักดันร่าง พ.ร.บ. 4 ฉบับ และเปิดให้ชุมชนได้มีส่วนร่วมตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญในมาตรา 77
ตัวแทนเครือข่ายกะเหรี่ยงฯ มอง รัฐออกกฎหมายมองประชาชนโง่ จน อ่อนแอ รัฐต้องทำให้เท่านั้น
อ่าน

ตัวแทนเครือข่ายกะเหรี่ยงฯ มอง รัฐออกกฎหมายมองประชาชนโง่ จน อ่อนแอ รัฐต้องทำให้เท่านั้น

12 มิ.ย.2560 P-move พร้อมเครือข่ายภาคประชาชนพันธมิตร จัดเสวนาเกี่ยวกับร่างพ.ร.บ.อุทยานแห่งชาติ และ ร่างพ.ร.บ.สงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า สะท้อนข้อบ่งพร่องของเนื้อหาและกระบวนของร่างกฎหมายทั้งสองฉบับ ในแง่มุมต่างๆ ดังนี้
การแก้ปัญหามลพิษที่ไปไม่สุดของ พ.ร.บ.แร่ ฉบับใหม่
อ่าน

การแก้ปัญหามลพิษที่ไปไม่สุดของ พ.ร.บ.แร่ ฉบับใหม่

หลังจากเกิดกระแสต่อต้านมาอย่างต่อเนื่อง ในที่สุดพ.ร.บ.แร่ฉบับใหม่ ก็ประกาศใช้เมื่อต้นปี 2560 หนึ่งในจุดเด่น คือ มาตรการปกป้องสิ่งแวดล้อมไว้ที่หลากหลายขึ้น รวมทั้งเปลี่ยนผู้มีอำนาจตัดสินใจเป็นรูปแบบคณะกรรมการ แต่ก็ยังมีจุดอ่อนแบบเนียน ๆ ของกฎหมายฉบับนี้
ร่าง พ.ร.บ.ปิโตรเลียม เส้นทางต่อสู้เรื่องบรรษัทน้ำมันแห่งชาติ
อ่าน

ร่าง พ.ร.บ.ปิโตรเลียม เส้นทางต่อสู้เรื่องบรรษัทน้ำมันแห่งชาติ

การแก้ไขฎหมายปิโตรเลียม เป็นประเด็นเร่งด่วนของคสช.เนื่องต้องเร่งดำเนินการจัดหาเอกชนเข้ามาบริหารจัดการแหล่งก๊าซธรรมชาติรอบใหม่ ร่างกฎหมายปิโตรเลียมสองฉบับ เข้าสู่สนช.โดยเป็นกฎหมายที่พิจารณาอย่างยาวนานที่สุดฉบับหนึ่ง มีประเด็นสำคัญ คือ การตั้งบรรษัทน้ำมันแห่งชาติ (NOC)   
สรุปเสวนา: วิเคราะห์ร่าง พ.ร.บ.แร่ เอื้อเอกชนทำเหมืองง่าย ภาคประชาชนคัดค้าน
อ่าน

สรุปเสวนา: วิเคราะห์ร่าง พ.ร.บ.แร่ เอื้อเอกชนทำเหมืองง่าย ภาคประชาชนคัดค้าน

เครือข่ายประชาชนผู้เป็นเจ้าของแร่ของประเทศไทย จัดเวทีวิเคราะห์กฎหมายแร่ฉบับใหม่ ในหัวข้อ “พ.ร.บ.แร่ นี่มันแย่จริงๆ” นอกจากนี้ตัวแทนเครือข่ายประชาชนผู้รับผลกระทบจากหกพื้นที่สะท้อนปัญหาและคัดค้านร่าง พ.ร.บ.แร่
ค้านร่าง พ.ร.บ.แร่ ฉบับ คสช. หวั่นชุมชนล่มสลาย
อ่าน

ค้านร่าง พ.ร.บ.แร่ ฉบับ คสช. หวั่นชุมชนล่มสลาย

รวมพลังชาวบ้านหลายพื้นที่สัมปทานเหมืองแร่เมืองเลย ค้านร่างกฎหมายแร่ฉบับ คสช. หวั่น Mining Zone จะก่อให้เกิดความล่มสลายอย่างรุนแรงต่อชุมชนทั่วประเทศได้ เพราะเปิดทางให้ทำเหมืองได้ในพื้นที่ป่าสงวน การลดขั้นตอนการขอสัมปทานสำรวจและทำเหมืองแร่ให้สั้นที่สุดเท่าที่จะสั้นได้ เพื่อความรวดเร็วต่อเอกชนที่จะเข้ามาลงทุน โดยเฉพาะขั้นตอนปรึกษาหารือกับประชาชนในพื้นที่สัมปทาน
โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ “ความหวัง” หรือ “หายนะ”?
อ่าน

โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ “ความหวัง” หรือ “หายนะ”?

กว่าห้าทศวรรษรัฐบาลพยายามทั้งเดินหน้าทั้งหยุดโครงการโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ หนึ่งก็ด้วยการต่อต้านในพื้นที่ต่างๆ อีกหนึ่งก็คือการเปลี่ยนทางเลือกใช้พลังงานในระดับโลก ตอนนี้ยุคของรัฐบาล คสช. แผนการจัดสร้างโรงไฟฟ้าถูกอนุมัติอีกครั้ง สำหรับประเทศไทยจะเป็น “ความหวัง” หรือ “หายนะ”?
ปัญหาชาวบ้านกับการต่อต้านรัฐประหาร
อ่าน

ปัญหาชาวบ้านกับการต่อต้านรัฐประหาร

อะไรเป็นเหตุปัจจัยให้ขบวนประชาชนทำการสนับสนุนรัฐประหาร? ทำไมขบวนประชาชนถึงไม่ต่อสู้เคียงบ่าเคียงไหล่ไปกับขบวนการประชาธิปไตย  หรือต่อสู้เพื่อให้ได้มาซึ่งประชาธิปไตย  ขับไล่รัฐประหาร  แต่กลับต่อสู้เคียงบ่าเคียงไหล่ไปกับขบวนการชาตินิยม  นิยมอำนาจทหารและอนุรักษ์นิยมเพื่อขับไล่ประชาธิปไตยแทน?
พื้นที่ป่าสงวน สร้อยทองที่คอ เกี่ยวยังไงกับ สนช. และ พ.ร.บ.แร่?
อ่าน

พื้นที่ป่าสงวน สร้อยทองที่คอ เกี่ยวยังไงกับ สนช. และ พ.ร.บ.แร่?

ร่าง พ.ร.บ.แร่ฉบับใหม่ตั้งเป้าให้มีเขตทรัพยากรแร่ และอำนวยความสะดวกให้เอกชนขอสัมปทาน หากร่างผ่านการขอสัมปทานทำเหมืองแร่จะง่ายขึ้นมาก และพื้นที่ที่จะได้รับผลกระทบก็จะเพิ่มขึ้นอย่างมโหฬาร ส่วนหนึ่งเพราะร่าง พ.ร.บ.นี้อนุญาตให้ทำเหมืองแร่ในพื้นที่หวงห้าม อย่างป่าสงวนหรือที่ ส.ป.ก.ได้