242269143_10165868205590551_547120357747301357_n
อ่าน

คาริม ทะลุฟ้า : สู้เพื่อให้บ้านเมืองของเราใกล้สิ่งที่เราฝัน

จิตริน พลาก้านตง หรือ “คาริม ทะลุฟ้า” หนึ่งในทีมงานทะลุฟ้าที่ถูกเจ้าหน้าที่ควบคุมฝูงชนใช้กำลังเข้าจับกุมตัว ในวันที่ 2 สิงหาคม 2564 โดยเขาถูกนำตัวไปยังกองบังคับการตำรวจตระเวนชายแดนภาค 1 จังหวัดปทุมธานี สืบเนื่องจากการไปทวงคืนรถเครื่องเสียงให้แนวร่วมธรรมศาสตร์และการชุมนุม การชุมนุมในวันดังกล่าว สืบเนื่องมาจากกิจกรรมคาร์ม็อบ ในวันที่ 1 สิงหาคม 2564 ที่จัดโดยเครือข่ายคนรุ่นใหม่นนทบุรี เป็นเหตุให้สมาชิกของเครือข่ายนนท์ฯ เจ็ดคน ถูกตำรวจรวบตัวเมื่อขบวนคาร์ม็อบเคลื่อนมาถึงฝั่งตรงข้ามของสถานีตำรวจภูธรรัตนาธิเบศร์ ทำให้ในช่วงเย็นของวันเดียวกัน แนวร่วมธรรมศาสตร์และการชุมน
51304691516_4c77c7f3fe_o
อ่าน

ข้อกำหนดฉบับ 27 ห้ามโพสต์สร้างความหวาดกลัวแม้เป็นความจริง โทษ 2 ปี ปรับ 40,000 บาท

    12 กรกฎาคม 2564 เป็นวันแรกของการบังคับใช้ข้อกำหนดนายกรัฐมนตรีที่ออกตามความในมาตรา 9 ของพ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ฉบับที่ 27 ซึ่งเป็นฉบับที่เพิ่มความเข้มงวดของข้อห้ามต่างๆ ท่ามกลางสถานการณ์ที่พบผู้ติดเชื้อโควิดรายวันหลัก 9,000 คน และระบบสาธารณสุขของประเทศไม่อาจรองรับสถานการณ์ได้ มาตรการห้ามออกนอกเคหสถานในเวลากลางคืนถูกนำมาใช้อีกครั้ง พร้อมกับการสั่งปิดตลาด ร้านอาหาร ห้างสรรพสินค้า ในเวลา 20.00 น.    
The role of the Senate in expanding Royal prerogative
อ่าน

7 ปี แห่งความถดถอย : “สภาแต่งตั้ง” เล่นใหญ่เพื่อปกป้องพระมหากษัตริย์ และขยายพระราชอำนาจ

ทบทวนบทบาทของ สนช. ที่แก้ไขรัฐธรรมนูญและกฎหมายหลายครั้งอย่างลับๆ เกี่ยวกับพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์ เมื่อถึงยุคของ ส.ว. ก็ยังตั้งกมธ.พิทักษ์สถาบันฯ รวมทั้งขวางการ #แก้รัฐธรรมนูญ หมวดพระมหากษัตริย์ และอีก 38 มาตรา 
Amendment article CHAPTER I GENERAL PROVISIONS And CHAPTER II THE KING issues
อ่าน

รวมสรุปอภิปรายในประเด็น “สสร. ห้ามแก้หมวด 1-2”

25 ก.พ.64 รัฐสภาพิจารณา #ร่างรัฐธรรมนูญ ถกเถียงกันว่า เมื่อตั้ง สสร. มาร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ จะสามารถเขียน หมวด 1 บททั่วไป หมวด 2 พระมหากษัตริย์ ได้หรือไม่
42558221185_f54b05a71f_c
อ่าน

วิทิต มันตาภรณ์ เรียกร้องปล่อยตัว-ถอนคดีผู้ชุมนุมโดยสงบ ตำแหน่งที่ได้มาโดยไม่ชอบให้ลาออก

วิทิต มันตาภรณ์ ผู้เชี่ยวชาญด้านสิทธิมนุษยชนของสหประชาชาติ พูดถึงเรื่องดุลยภาพในประเด็นสิทธิมนุษยชน โดยนำเสนอสามหัวข้อหลักเพื่อเป็นแนวทางสิทธิมนุษยชนที่ทุกฝ่ายใฝ่หา แม้แต่ละฝ่ายจะให้ความหมายแตกต่างกันแต่เรายังสามารถหาจุดสมดุลระหว่างกันได้
50527081163_f255f9541d_c
อ่าน

ยืนยัน! รัฐธรรมนูญ แก้ได้ “ทุกหมวด ทุกมาตรา” ปัจจุบันไม่มีข้อห้าม อดีตก็ไม่เคยมีข้อห้าม

รัฐธรรมนูญนั้นสามารถแก้ไขเพิ่มเติมได้ทุกมาตราจริงหรือไม่? มีความเข้าใจว่า รัฐธรรมนูญ หมวด 1 บททั่วไปและหมวด 2 พระมหากษัตริย์ นั้นห้ามแก้ไข ซึ่งเป็นความเข้าใจที่ผิด เพราะโดยหลักแล้วการแก้ไขรัฐธรรมนูญสามารถแก้ได้ทุกหมวด ทุกมาตรา  
Number of people who signed for constitutional amendment draft
อ่าน

สถิติประชาชนที่ลงชื่อ #แก้รัฐธรรมนูญ ทุกจังหวัดทั่วประเทศไทย

สำหรับผู้ที่ร่วมลงชื่อแก้รัฐธรรมนูญ 100,732 คน สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรตรวจสอบเอกสารการลงชื่อเสร็จเรียบร้อยแล้ว แจ้งกลับมาเมื่อวันที่ 14 ตุลาคม 2563 มีจำนวนผู้ที่ผ่านการตรวจสอบแล้วทั้งสิ้น 98,824 คน และผู้ที่ลงชื่อแก้รัฐธรรมนูญนั้นมีที่อยู่ตามทะเบียนราษฎรครบทุกจังหวัดทั่วประเทศไทย!
50365494693_09562ba094_o
อ่าน

4 เหตุผลต้องคว่ำข้อเสนอ “แก้รัฐธรรมนูญ” ของฝั่งรัฐบาล

แม้ถนนทุกสายจะมุ่งหน้าสู่การแก้รัฐธรรมนูญ 2560 แต่ใช่ว่าทุกเส้นทางจะมีเป้าหมายเพื่อสร้างระบอบประชาธิปไตยอย่างแท้จริง หากพิจารณาข้อเสนอของพรรคร่วมรัฐบาลให้ดีจะพบว่า เป็นเพียงความพยายาม "เล่นแร่แปรธาตุ" ให้กระบวนการแก้รัฐธรรมนูญกลายเป็น "ข้ออ้างอยู่ยาว" เพื่อรักษาอำนาจของ "ระบอบ คสช."
n20200910150835_468916
อ่าน

ถ้าร่างแก้รัฐธรรมนูญผ่านปีนี้ ปลายปีหน้าได้รัฐธรรมนูญใหม่

ในเดือนกันยายน 2563 คาดว่าจะมีการพิจารณาร่างรัฐธรรมนูญอย่างน้อยสองฉบับ โดยสาระสำคัญของร่างแก้รัฐธรรมนูญแต่ละฉบับมีจุดร่วมกัน คือ การเปิดทางให้มีการจัดทำร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่โดยสภาร่างรัฐธรรมนูญ (สสร.) ที่มาจากการเลือกตั้งโดยตรงของประชาชน และต้องจัดทำร่างรัฐธรรมนูญให้แล้วเสร็จภายในหนึ่งถึงสองปี 
50327805427_f981e88891_c
อ่าน

ผ่าทางตันรัฐธรรมนูญไทยในมุมมอง “สิริพรรณ นกสวน สวัสดี”

รศ.ดร.สิริพรรณ นกสวน สวัสดี อาจารย์ประจำคณะรัฐศาสตร์ จุฬาฯ มองว่า ข้อเสนอเกี่ยวกับ สสร. ของทั้งพรรคฝ่ายค้านและรัฐบาลยังไม่เพียงพอต่อการสะท้อนกลุ่มก้อนทางสังคมเพราะใช้จังหวัดเป็นเขตเลือกตั้ง รวมถึงการแก้รัฐธรรมนูญจำเป็นต้องพิจารณาควบคู่กับสถานการณ์ทางการเมือง ซึ่งจากข้อเสนอเพื่อปิตสวิตช์ ส.ว. อาจต้องพิจารณาเรื่องการแก้ระบบเลือกตั้งควบคู่ไปด้วย