สรุปการทำงานสปช.: ข้อเสนอ “ครอบจักรวาล” 505 ข้อ  … ไม่ใหม่ ไม่มีรายละเอียด ไม่เสร็จในเร็ววัน
อ่าน

สรุปการทำงานสปช.: ข้อเสนอ “ครอบจักรวาล” 505 ข้อ … ไม่ใหม่ ไม่มีรายละเอียด ไม่เสร็จในเร็ววัน

สรุปการทำงาน 11 เดือน ของสปช. มีข้อเสนอการปฏิรูปรวม 505 ข้อเสนอ จัดทำออกเป็น 62 เล่ม โดยใช้งบประมาณแผ่นดินไปกว่า 700 ล้านบาท ขณะที่ข้อเสนอส่วนมากยังเป็นแค่นามธรรม ไม่มีรายละเอียด หลักคิดยังมีปัญหาเพราะเน้นไปที่การตั้งหน่วยงานใหม่ ออกกฎหมายใหม่ และไม่มีการจัดลำดับความสำคัญ มีกำหนดเสร็จอีก 17 ปี
สปช.จังหวัด-ข้าราชการ-ทหาร-ตำรวจรวมพล โหวตคว่ำร่างรัฐธรรมนูญ
อ่าน

สปช.จังหวัด-ข้าราชการ-ทหาร-ตำรวจรวมพล โหวตคว่ำร่างรัฐธรรมนูญ

ภายหลัง สภาปฏิรูปแห่งชาติ (สปช.) มีมติไม่รับร่างรัฐธรรมนูญด้วยคะแนน 135 เสียง หากวิเคราะห์ทิศทางการลงมติจะพบว่า กลุ่มอาชีพข้าราชการพลเรือน-ทหาร-ตำรวจ เป็นส่วนใหญ่ที่ไม่เห็นชอบ และกลุ่มเอ็นจีโอส่วนใหญ่สนับสนุน แต่หากแบ่งตามที่มาจะพบว่า สปช.จังหวัด จำนวนมากไม่เห็นชอบร่างรัฐธรรมนูญ
สนช. “ประยุทธ์” แค่เบอร์สอง แพ้ยุค “อานันท์”
อ่าน

สนช. “ประยุทธ์” แค่เบอร์สอง แพ้ยุค “อานันท์”

หากให้นับจำนวนการพิจารณากฎหมายของสภานิติบัญญัติในอดีต จะพบว่า รัฐบาลประยุทธ์เป็นแค่เบอร์สอง แพ้รัฐบาลอานันท์ ปันยารชุน ที่มีการผ่านกฎหมายมากที่สุด (189 ฉบับ) ส่วนยุคที่ไม่มีการผ่านกฎหมายเลย คือสมัยรัฐบาลนายสมัคร สุนทรเวช และรัฐบาลนายสมชาย วงศ์สวัสดิ์
รายงานหนึ่งปี สนช. 1/3 : การพิจารณากฎหมายในสภา
อ่าน

รายงานหนึ่งปี สนช. 1/3 : การพิจารณากฎหมายในสภา

หนึ่งปีที่ผ่านมา สนช.ทำหน้าที่หลักในการพิจารณากฎหมายโดยมีกฎหมายที่เข้าสู่การพิจารณาถึง 130 ฉบับ ประกาศใช้แล้ว 108 ฉบับ เป็นกฎหมายที่ประชาชนเคยเสนอ 4 ฉบับ และยังมีกฎหมายที่สังคมถกเถียงมากกว่า 10 ฉบับ เช่น พ.ร.บ.ภาษีการรับมรดก, พ.ร.บ.การชุมนุมสาธารณะ, พ.ร.บ.แก้ไขประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง เรื่องการอุทธรณ์ฎีกา, กฎหมายอุ้มบุญ ฯลฯ
รายงานหนึ่งปี สนช. 3/3: การใช้งบประมาณพิจารณากฎหมาย
อ่าน

รายงานหนึ่งปี สนช. 3/3: การใช้งบประมาณพิจารณากฎหมาย

หนึ่งปี สนช. ใช้เงินงบเฉียดสามร้อยล้าน เพื่อผ่านกฎหมาย 108 ฉบับ ซึ่งเฉลี่ยกฎหมายแต่ละฉบับของใช้เงินประมาณ “สองล้านห้าแสน” พ.ร.บ.การยางฯ ใช้เงินมากสุด และกฎหมายขึ้นเงินเดือนข้าราชการใช้เงินน้อยสุด นอกจากนี้ กฎหมาย ป.ป.ช. ใช้เงินค่าเบี้ยประชุมไปแล้ว “สามแสนบาท” แต่ถอนร่างออก และยังมีข้อครหามากมายเกี่ยวกับ สนช.
รายงานหนึ่งปี สนช. 2/3: การแต่งตั้ง-ถอดถอน
อ่าน

รายงานหนึ่งปี สนช. 2/3: การแต่งตั้ง-ถอดถอน

ตลอดหนึ่งปี สนช.พิจารณาบุคคลให้ดำรงตำแหน่งไปแล้วอย่างน้อย 28 คน ใน 10 หน่วยงาน โดยแบ่งเป็นที่คัดเลือกและลงมติเอง หรือลงมติอย่างเดียว ส่วนการถอดถอนนั้น มีจำนวน 4 คน คือ อดีตนายกรัฐมนตรี ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร และ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ บุญทรง  เตริยาภิรมย์ และพวกอีก 2 คน
สนช.กับการเห็นชอบบุคคลให้ดำรงตำแหน่งในองค์กรของรัฐ
อ่าน

สนช.กับการเห็นชอบบุคคลให้ดำรงตำแหน่งในองค์กรของรัฐ

นอกจากพิจารณาร่างกฎหมาย สนช.ยังทำหน้าที่แต่งตั้ง/ถอดถอนผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองหรือผู้บริหารระดับสูงของรัฐ สำหรับการแต่งตั้ง ปัจจุบัน สนช.ให้ความเห็นชอบผู้ดำรงตำแหน่งในองค์กรต่างๆ ไปแล้วจำนวนมากมีองค์กรอะไร? และใครได้รับตำแหน่งบ้าง?
สนช.เล็งตั้ง “ศาลอุทธรณ์ชำนัญพิเศษ” วางระบบอุทธรณ์ฎีกาทั้งประเทศใหม่ ให้คดีส่วนใหญ่สิ้นสุดที่ชั้นอุทธรณ์
อ่าน

สนช.เล็งตั้ง “ศาลอุทธรณ์ชำนัญพิเศษ” วางระบบอุทธรณ์ฎีกาทั้งประเทศใหม่ ให้คดีส่วนใหญ่สิ้นสุดที่ชั้นอุทธรณ์

สนช.กำลังพิจารณาร่างพ.ร.บ.จัดตั้งศาลอุทธรณ์ชำนัญพิเศษ และร่างกฎหมายรวม 9 ฉบับ เพื่อจัดระบบอุทธรณ์คดีให้เป็นระบบเดียวและสอดคล้องกับการแก้ไขป.วิแพ่ง ให้อุทธรณ์ไปที่ศาลอุทธรณ์เท่านั้น และคดีที่จะไปยังศาลฎีกาได้ต้องได้รับอนุญาตก่อน 
แก้ไข ป.แพ่งฯ เรื่องค้ำประกันจำนอง 1 : คุ้มครองผู้ค้ำประกันและผู้จำนอง แต่เศรษฐกิจอาจพังครืน
อ่าน

แก้ไข ป.แพ่งฯ เรื่องค้ำประกันจำนอง 1 : คุ้มครองผู้ค้ำประกันและผู้จำนอง แต่เศรษฐกิจอาจพังครืน

สนช.แก้ไขร่างประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ เรื่องการค้ำประกันจำนอง ประเด็นสำคัญคือคุ้มครองสิทธิและให้ความเป็นธรรมแก่ผู้ค้ำประกันและผู้จำนองที่ต้องชำระหนี้แทนลูกหนี้ แม้กฎหมายนี้จะมีผลบังคับใช้แต่ด้วยกระแสกดดันจากธนาคารทำให้ สนช.ต้องนำมาแก้ไขอีกรอบหนึ่ง 
แก้ไข ป.แพ่งฯ เรื่องค้ำประกันจำนอง 2 : ให้สถาบันการเงินเป็นลูกหนี้ร่วมได้
อ่าน

แก้ไข ป.แพ่งฯ เรื่องค้ำประกันจำนอง 2 : ให้สถาบันการเงินเป็นลูกหนี้ร่วมได้

เสียงกดดันจากธนาคารพาณิชย์ส่งผลให้ สนช.ต้องนำประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ เรื่องการค้ำประกันจำนอง มาแก้ไขใหม่ ทั้งที่กฎหมายยังไม่ทันบังคับใช้ โดยประเด็นสำคัญคือการแก้ไขให้ธนาคารพาณิชย์สามารถเป็นลูกหนี้ร่วมได้