ส.ว. ขอแก้ร่าง พ.ร.บ.ป้องกันการทรมานและอุ้มหายฯ กลับไปคล้ายร่างครม. ทั้งที่ ส.ส. มีมติแก้แล้ว
อ่าน

ส.ว. ขอแก้ร่าง พ.ร.บ.ป้องกันการทรมานและอุ้มหายฯ กลับไปคล้ายร่างครม. ทั้งที่ ส.ส. มีมติแก้แล้ว

กมธ. ของ ส.ว. ได้ปรับแก้หรือตัดข้อเสนอใน ร่างพ.ร.บ.ป้องกันการทรมานและการอุ้มหายฯ จำนวนหนึ่งที่เสนอในชั้น กมธ. ส.ส. และได้รับมติเห็นชอบจาก ส.ส. แล้ว เช่น ตัดโความผิดฐานกระทำย่ำยีศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ฯ การปรับโครงสร้างและที่มาของคณะกรรมการ จนทำให้ร่างของ กมธ. ส.ว. นั้นแทบจะปรับแก้ให้เนื้อหาสำคัญกลับไปเป็นเหมือนร่างของ ครม.
สภาคว่ำร่างพ.ร.บ.ฉุกเฉินฯ หน่วยงานรัฐยัน พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ยังเหมาะสมใช้แก้สถานการณ์ “ไม่ปกติ”
อ่าน

สภาคว่ำร่างพ.ร.บ.ฉุกเฉินฯ หน่วยงานรัฐยัน พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ยังเหมาะสมใช้แก้สถานการณ์ “ไม่ปกติ”

สภาผู้แทนราษฎรมีมติ “ไม่รับหลักการ” ร่างพ.ร.บ.ฉุกเฉินฯ ที่ส.ส.ก้าวไกลเสนอขึ้นเพื่อใช้แทนพ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ที่ให้สภาตรวจสอบอำนาจพิเศษนี้ และยกเลิกอำนาจการคุมสื่อของรัฐบาล
ส.ว. ขอยืดเวลาแก้ร่างพ.ร.บ. ป้องกันและปราบปรามการทรมานฯ อาจเสี่ยงผ่านไม่ทันสภาชุดนี้
อ่าน

ส.ว. ขอยืดเวลาแก้ร่างพ.ร.บ. ป้องกันและปราบปรามการทรมานฯ อาจเสี่ยงผ่านไม่ทันสภาชุดนี้

เส้นทางของประเทศไทยที่จะมีกฎหมายเพื่อป้องกันการซ้อมทรมานและการอุ้มหายเหลืออีกไม่ไกลแล้ว แต่ก่อนจะไปถึงจุดหมายที่หลายฝ่ายพยายามผลักดันมานาน ก็ยังต้องเจอกับ “วุฒิสภา” อันเป็นอีกหนึ่งด่านสำคัญที่รับไม้ต่อมาจากสภาผู้แทนราษฎร
จับตาพิจารณา #งบประมาณปี66 3.185 ล้านล้านบาท โค้งสุดท้ายรัฐบาลประยุทธ์ จันทร์โอชา
อ่าน

จับตาพิจารณา #งบประมาณปี66 3.185 ล้านล้านบาท โค้งสุดท้ายรัฐบาลประยุทธ์ จันทร์โอชา

31 พฤษภาคม ถึง 2 มิถุนายน 2565 ที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎร มีวาระการพิจารณาหนึ่งในกฎหมายสำคัญ คือ ร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 (ร่างพ.ร.บ.งบประมาณปี 2566) ซึ่งตั้งวงเงินงบประมาณรายจ่ายประจำปีไว้ที่ 3,185,000 ล้านบาท (สามล้านหนึ่งแสนแปดหมื่นห้าพันล้านล้านบาท) เพิ่มจากปีงบประมาณ 2565 มา 85,000 ล้านบาท หรือคิดเป็น 2.74%
ร่าง พ.ร.บ.เอ็นพีโอ: รัฐบาลอ้างกฎหมาย ‘คุ้มครอง’ แต่เนื้อหากลับ ‘ควบคุม’ ภาคประชาชน
อ่าน

ร่าง พ.ร.บ.เอ็นพีโอ: รัฐบาลอ้างกฎหมาย ‘คุ้มครอง’ แต่เนื้อหากลับ ‘ควบคุม’ ภาคประชาชน

รัฐบาลได้ชี้แจงว่า ร่าง พ.ร.บ. “ควบคุมการรวมกลุ่ม” มีเจตนาในการคุ้มครององค์กรภาคประชาชน-ประชาสังคม รวมถึงเพื่อสร้างความโปร่งใสในการดำเนินงาน แต่เนื้อหาของกฎหมายกลับเปิดช่องให้รัฐเข้ามาสอดส่อง ขัดขวางการทำงานของภาคประชาชน-ประชาสังคม
เสวนา NPO101 : ภาคประชาชนรับเงินต่างชาติแล้วทำงานอย่างไร
อ่าน

เสวนา NPO101 : ภาคประชาชนรับเงินต่างชาติแล้วทำงานอย่างไร

25 พฤษภาคม 2565 เครือข่ายคัดค้านพ.ร.บ.ควบคุมการรวมกลุ่มฯ จัดงานเสวนาในหัวข้อภาคประชาชนทำงานอย่างไร ทำไมต้องรับทุนไทย-ต่างชาติ เพื่ออธิบายให้ประชาชนและรัฐบาล เข้าใจมากขึ้นว่า “ทุนต่างประเทศ” ไม่ได้หมายความว่าการบ่อนทำลายชาติหรือการแทรกแซงทางการเมือง
ประชุมสภา: จับตากฎหมายค้างท่อ อย่างน้อย 40 ฉบับ
อ่าน

ประชุมสภา: จับตากฎหมายค้างท่อ อย่างน้อย 40 ฉบับ

ในการประชุมสภาผู้แทนราษฎร ยังมีร่างกฎหมายอีกจำนวนที่ยังรอให้ผู้แทนราษฎรพิจารณา และยังมีร่างกฎหมายถึง 10 ฉบับที่คณะรัฐมนตรี (ครม.) ใช้เทคนิคถ่วงเวลา ขอนำร่างกฎหมายไปศึกษาก่อน 60 วัน เช่น #สมรสเท่าเทียม #สุราก้าวหน้า ซึ่งร่างกฎหมายทั้ง 10 ฉบับนั้นยังต้องรอให้สภาผู้แทนราษฎรลงมติว่าจะ “รับหลักการ” หรือไม่ 
ย้อนไทม์ไลน์พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล ครม.ยกเว้นต่อเนื่อง 2 ปี ใช้บังคับเต็มรูปแบบ 1 มิ.ย. 65 ???
อ่าน

ย้อนไทม์ไลน์พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล ครม.ยกเว้นต่อเนื่อง 2 ปี ใช้บังคับเต็มรูปแบบ 1 มิ.ย. 65 ???

แม้เดิมพ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล (PDPA) จะต้องบังคับใช้เต็มรูปแบบเมื่อ 28 พฤษภาคม 2563 แต่สองปีที่ผ่านมา ครม.ออกพระราชกฤษฎีกา กำหนดยกเว้นกิจการ 22 ประเภทไม่ต้องอยู่ภายใต้บังคับพ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลจนถึง 31 พ.ค.65 
ย้อนดูงบ กทม. ยุคผู้ว่าฯ และ ส.ก.แต่งตั้งจัดสรรงบยังไง?
อ่าน

ย้อนดูงบ กทม. ยุคผู้ว่าฯ และ ส.ก.แต่งตั้งจัดสรรงบยังไง?

ก่อนจะเข้าคูหาในวันที่ 22 พ.ค. 2565  ใช้สิทธิออกเสียงเลือกผู้ว่าฯ และส.ก. ชุดใหม่มาพิจารณาจัดสรรงบประมาณรายจ่ายกรุงเทพมหานครในปีงบประมาณถัดไป ชวนย้อนดูการจัดสรรงบประมาณรายจ่ายกรุงเทพมหานครห้าปีงบประมาณที่เกิดจากการจัดสรรงบของผู้ว่าฯ และส.ก. ที่ประชาชนไม่ได้เลือก
วุฒิสภาตั้ง กมธ. พิทักษ์สถาบันฯ ปิดลับไม่ให้รู้ว่าประชุมอะไร
อ่าน

วุฒิสภาตั้ง กมธ. พิทักษ์สถาบันฯ ปิดลับไม่ให้รู้ว่าประชุมอะไร

กมธ.พิทักษ์สถาบันฯ เป็นคณะกรรมาธิการวิสามัญที่เคยมีในยุคของสนช. มีกมธ. บางรายที่เคยเป็นกมธ.พิทักษ์สถาบันฯ  ชุดสนช. และมาเป็นกมธ.พิทักษ์สถาบันฯ  ชุดวุฒิสภาปัจจุบันอีกครั้ง นอกจากนี้ การประชุมแต่ละครั้งของกมธ.พิทักษ์สถาบันฯ  ล้วนแต่ถูกปิดตราประทับ “ลับ” ไม่เปิดเผยต่อสาธารณชน