ลักษณะกฎหมายในยุคเผด็จการทหาร คสช.
อ่าน

ลักษณะกฎหมายในยุคเผด็จการทหาร คสช.

ในสังคมอารยะ รัฐจะต้องไม่ทำลายอุดมคติเพื่อมวลมนุษยชาติและการใช้อำนาจจะต้องยึดโยงกับประชาชน ไม่ใช่เพื่อสร้างระบบราชการอันเข้มแข็งที่ทำลายความรู้สึกมั่นคงปลอดภัยในการใช้ชีวิตของประชาชน
ร่าง พ.ร.บ.แร่ “รัฐไม่ต้องเผยข้อมูล หากกระทบความมั่นคง”
อ่าน

ร่าง พ.ร.บ.แร่ “รัฐไม่ต้องเผยข้อมูล หากกระทบความมั่นคง”

ร่าง พ.ร.บ.แร่ เข้าสู่วาระการประชุม สนช. 11 มี.ค. 59 เป็นการปรับปรุง พ.ร.บ.แร่ พ.ศ. 2510 และ พ.ร.บ.พิกัดอัตราค่าภาคหลวงแร่ พ.ศ. 2509 เหตุผลการแก้ไขเนื่องจากเนื้อหากฎหมายเดิมบางส่วนไม่เหมาะสมกับปัจจุบัน แม้มีการแก้ไขแต่เนื้อหาหลายส่วนยังคงมีปัญหา เพราะดูจะเอื้อประโยชน์ให้กับนายทุนมากกว่า
ร่าง พ.ร.บ.นิวเคลียร์ฯ เข้า สนช. เปิดช่องตั้งโรงงานนิวเคลียร์ได้ แต่หลักเกณฑ์ความปลอดภัยยังไม่ชัด
อ่าน

ร่าง พ.ร.บ.นิวเคลียร์ฯ เข้า สนช. เปิดช่องตั้งโรงงานนิวเคลียร์ได้ แต่หลักเกณฑ์ความปลอดภัยยังไม่ชัด

ร่าง พ.ร.บ.นิวเคลียร์ ที่ สนช.กำลังพิจารณา ชัดเจนว่าเปิดช่องตั้งสถานประกอบการฯ ผลิตพลังงานนิวเคลียร์ได้ แต่หลักเกณฑ์การควบคุมหลายเรื่อง เช่น การทิ้งกากกัมมันตภาพรังสี ยังไม่ชัดต้องรอดูกฎกระทรวง แม้กำหนดให้ต้องทำรายงานด้านสิ่งแวดล้อม แต่ก็ยังไม่ใช่ EIA
สิทธิชุมชนในร่าง รธน.หาย ภาคประชาชนหวั่นอนาคตไร้ช่องทางเรียกร้องสิทธิ
อ่าน

สิทธิชุมชนในร่าง รธน.หาย ภาคประชาชนหวั่นอนาคตไร้ช่องทางเรียกร้องสิทธิ

ภาคประชาชนระบุในงานเสวนา “เมื่อสิทธิชุมชนในร่างรัฐธรรมนูญหายไป ชาวบ้านจะพึ่งพาใคร?” เมื่อร่างรัฐธรรมนูญ 2559 ไม่เขียนเรื่องสิทธิชุมชน ชาวบ้านไร้สิทธิปกป้องทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม หวั่นหลังรัฐธรรมนูญผ่านประชามติ คำสั่งหัวหน้า คสช. ทั้งหมดกลายเป็นกฎหมาย ทั้งที่มีเนื้อหาละเมิดสิทธิชัดเจนและปิดกั้นเสียงประชาชน
‘โอนคดีสิ่งแวดล้อม’ ไปศาลแพ่ง หนุนความเป็นธรรมหรือสร้างภาระ?
อ่าน

‘โอนคดีสิ่งแวดล้อม’ ไปศาลแพ่ง หนุนความเป็นธรรมหรือสร้างภาระ?

พ.ร.บ.แก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง ฉบับที่ 28 ปี 2558 กำหนดให้โอนคดีที่มีลักษณะเป็นคดีสิ่งแวดล้อม จากศาลชั้นต้นอื่นไปยังศาลแพ่งได้ แต่ยังมีข้อถกเถียงว่าการโอนคดีจะเป็นการเพิ่มภาระ หรือส่งเสริมความเป็นธรรมตามที่ตั้งใจไว้หรือไม่
บันทึก 22 วัน ทำไมร่างจีเอ็มโอถึงล่ม?
อ่าน

บันทึก 22 วัน ทำไมร่างจีเอ็มโอถึงล่ม?

เป็นเวลาเพียง 22 วัน นับตั้งแต่วันที่ ครม.เห็นชอบ จนถึงวันที่ยกเลิกร่าง พ.ร.บ.จีเอ็มโอ ถือเป็นถอยที่รวดเร็วของรัฐบาลทหาร เมื่อเปรียบเทียบกับประเด็นอย่าง Single Gateway หรือ ชุดร่าง พ.ร.บ.ความมั่งคงดิจิทัล เราชวนย้อนดูไทม์ไลน์การเคลื่อนไหวคัดค้านร่าง พ.ร.บ.จีเอ็มโอ และการวิเคราะห์จาก วิฑูรย์ เลี่ยนจำรูญ ผู้อำนวยการมูลนิธิชีววิถี (ไบโอไทย) ว่าทำไม ร่าง พ.ร.บ.จีเอ็มโอถึงล่ม?
ร่างกฎหมาย GMO เปิดช่องผู้ประกอบการไม่ต้องรับผิด อ้าง “เหตุสุดวิสัย”
อ่าน

ร่างกฎหมาย GMO เปิดช่องผู้ประกอบการไม่ต้องรับผิด อ้าง “เหตุสุดวิสัย”

ร่างพ.ร.บ.ความปลอดภัยทางชีวภาพหรือ ร่างพ.ร.บ.จีเอ็มโอ ผ่านความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรีท่ามกลางเสียงท้วงติงจากภาคประชาชนและหน่วยงานรัฐเองหลายประเด็น เช่น การใช้จีเอ็มโอในสภาพควบคุมหรือในภาคสนามที่ไม่ต้องทำ EIA หรือผู้ประกอบการไม่ต้องรับผิดชอบถ้าความเสียหายที่เกิดขึ้นเป็นเหตุสุดวิสัย รวมถึงการเขียนกฎหมายแบบเปิดโอกาสให้มีการใช้จีเอ็มโออย่างเสรี
Mining Zone  ในร่างกฎหมายแร่มีสภาพบังคับ  ไม่ใช่ดุลพินิจ
อ่าน

Mining Zone ในร่างกฎหมายแร่มีสภาพบังคับ ไม่ใช่ดุลพินิจ

เลิศศักดิ์ คำคงศักดิ์ โต้งแย้งบทความของกรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ (กพร.) เรื่องอำนาจจัดทำ‘แผนแม่บทบริหารจัดการแร่’ ในร่างพ.ร.บ.แร่ ชี้ถึงแม้จะมีแผนแม่บทก็ต้องยึดการแบ่ง Mining Zone เป็นหลัก ไม่อาจเขียนแผนแม่บทกระทบการแบ่ง Mining Zone ได้
ทำไมเราจึงควรคัดค้านร่าง พ.ร.บ.ความปลอดภัยทางชีวภาพ
อ่าน

ทำไมเราจึงควรคัดค้านร่าง พ.ร.บ.ความปลอดภัยทางชีวภาพ

ข่าวเรื่องร่างกฎหมายว่าด้วยความปลอดภัยทางชีวภาพถูกถอนออกจากการพิจารณาของสภาปฏิรูปฯ ได้รับความสนใจจากผู้คนในหลายภาคส่วน มีคนวิพากษ์วิจารณ์ร่างกฎหมายฉบับนี้หลากหลายประเด็น โดยเฉพาะประเด็นเรื่องความรับผิดและการชดใช้ค่าเสียหาย (ร่างมาตรา 52) แต่ยังมีความคลาดเคลื่อนอยู่หลายข้อที่อาจทำให้สาธารณชนสับสนหลงผิดไปได้
ร่างกฎหมายป่าชุมชนยกที่สาม ในยุคสภาปฏิรูปแห่งชาติ ยังคงไม่ตอบโจทย์ชุมชน
อ่าน

ร่างกฎหมายป่าชุมชนยกที่สาม ในยุคสภาปฏิรูปแห่งชาติ ยังคงไม่ตอบโจทย์ชุมชน

กว่า 25 ปีที่ร่างกฎหมายป่าชุมชนถูกผลักดันจากภาคประชาชน จนมาถึงปัจจุบันที่สภาปฏิรูปแห่งชาติ (สปช.) หยิบยกร่างกฎหมายนี้ขึ้นมาอีกครั้ง แต่ผลตอบรับจากภาคประชาชนกลับเป็นเสียงคัดค้าน ด้วยเหตุผลว่าร่างของ สปช. บิดเบือนเจตนารมณ์ของประชาชน