เสียงเกษตรกรต่อ ร่างพ.ร.บ.พันธุ์พืชฯ “ทำไมถึงไม่ให้เราเป็นเจ้าของบ้าง?”
อ่าน

เสียงเกษตรกรต่อ ร่างพ.ร.บ.พันธุ์พืชฯ “ทำไมถึงไม่ให้เราเป็นเจ้าของบ้าง?”

ฟังเสียงจากเกษตรกร ที่ไม่ได้เพียงแค่ปลูกพืชเพื่อขายผลเท่านั้น แต่ยังเป็นผู้ศึกษาและทำงานกับพันธุ์พืชท้องถิ่น และมีรายได้จากการขายต่อเมล็ดพันธุ์ ต่อร่างพ.ร.บ.คุ้มครองพันธุ์พืช ฉบับใหม่
‘ร่างกฎหมายน้ำ’: มุ่งตอบสนองผู้มีเงินจ่ายค่าน้ำ การสร้างระบบบริหารน้ำล้มเหลวตั้งแต่ยังร่าง
อ่าน

‘ร่างกฎหมายน้ำ’: มุ่งตอบสนองผู้มีเงินจ่ายค่าน้ำ การสร้างระบบบริหารน้ำล้มเหลวตั้งแต่ยังร่าง

ร่างพ.ร.บ.ทรัพยากรน้ำ เข้าสู่ สนช. แล้ว แต่หลักการที่จะบูรณาการอำนาจการจัดการดูแลน่าจะล้มเหลวแต่เริ่ม เพราะ คสช. ก็ใช้มาตรา 44 ตั้งสำนักงานบริหารจัดการทรัพยากรน้ำแห่งชาติ ขึ้นมาคู่ขนาน หลักการของกฎหมายดูจะรวบอำนาจสู่ศูนย์กลาง และเอื้อให้ธุรกิจขนาดใหญ่
สัมภาษณ์ประสิทธิ์ชัย หนูนวล ในวันที่ กฟผ. ไล่ฟ้องคนค้านโรงไฟฟ้าถ่านหิน
อ่าน

สัมภาษณ์ประสิทธิ์ชัย หนูนวล ในวันที่ กฟผ. ไล่ฟ้องคนค้านโรงไฟฟ้าถ่านหิน

นักเคลื่อนไหวด้านสิ่งแวดล้อม รับทราบข้อกล่าวหาในคดีที่การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) กล่าวหาเขาในข้อหาหมิ่นประมาทจากการโพสต์วิจารณ์โครงการโรงไฟฟ้าถ่านหินที่ จ.กระบี่ ไอลอว์ถามต่อเรื่องการเคลื่อนไหวในยุคที่ประชาชนต้องร่วมจ่ายความมั่นคงทางพลังงานด้วยเสรีภาพ
ถอดบทเรียนบาดแผลจาก ‘อีสเทิร์นซีบอร์ด’ ก่อนไปถึง ‘อีอีซี’
อ่าน

ถอดบทเรียนบาดแผลจาก ‘อีสเทิร์นซีบอร์ด’ ก่อนไปถึง ‘อีอีซี’

ในวันที่รัฐกำลังเร่งผลักดัน โครงการ ‘เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก’ หรือ ‘อีอีซี’ เราเลือกจะมาคุยกับ ‘สมนึก จงมีวศิน’ นักวิชาการอิสระด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ เพื่อถอดบทเรียนบาดแผลการพัฒนาก่อนจะก้าวพลาดซ้ำรอยแผลเดิมอีกครั้ง 
Thailand Grand Sale: กม.เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกฉบับย่นย่อ
อ่าน

Thailand Grand Sale: กม.เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกฉบับย่นย่อ

จากการพิจารณาเนื้อในร่างกฎหมายฉบับนี้แล้วพบว่า กฎหมายฉบับนี้เน้นการ ‘ลด-แลก-แจก-แถม’ สิทธิประโยชน์ต่างๆ ให้กับนักลงทุน โดยรวมศูนย์อำนาจตัดสินใจเกือบจะทุกเรื่องไปไว้ที่ ‘คณะกรรมการนโยบายฯ’ และ ‘เลขาธิการฯ’ นอกจากนี้ เพื่อการพัฒนาพื้นที่ในเขตพัฒนาพิเศษสามารถงดเว้นการบังคับใช้กฎหมายได้หลายฉบับ
ป่ามีใหญ่กว้าง…คือมาขี้ใส่หมากหัวใจแท้ :การปกป้องทรัพยากรของกลุ่มรักษ์น้ำอูน
อ่าน

ป่ามีใหญ่กว้าง…คือมาขี้ใส่หมากหัวใจแท้ :การปกป้องทรัพยากรของกลุ่มรักษ์น้ำอูน

  สมัย หนึ่งใน 21 จำเลยคดีหมิ่นประมาทด้วยเอกสารจากการยื่นหนังสือร้องเรียนเรื่อง การเบิกพื้นที่ลำรางสาธารณะของบริษัท ไทยรุ่งเรืองอุตสาหกรรม จำกัด ยิ้มออกมาด้วยความโล่งใจ หลังศาลจังหวัดสกลนครแจ้งว่า บริษัท ไทยรุ่งเรืองอุตสาหกรรม จำกัดที่เป็นโจทก์ในคดีนี้ยื่นคำร้องขอถอนฟ้องคดีต่อจำเลยทั้ง 21 คนแล้ว
เอกสารชี้แจง เหมืองทองมีผลกระทบจริง  โดยสามารถใช้กฎหมายปกติสั่งปิดและฟื้นฟูเหมืองได้
อ่าน

เอกสารชี้แจง เหมืองทองมีผลกระทบจริง โดยสามารถใช้กฎหมายปกติสั่งปิดและฟื้นฟูเหมืองได้

เครือข่ายประชาชนผู้เป็นเจ้าของแร่ แสดงความคิดเห็นกรณีรัฐบาลเผด็จการทหาร คสช. ใช้อำนาจตามมาตรา 44 ปิดกิจการเหมืองแร่ทองคำ ชี้เหมืองมีผลกระทบจริง คสช.ตีสองหน้ารอเปิดเหมืองกลับมาใหม่
ม.44 ล้ม คำพิพากษาศาลปกครอง ปลดล๊อกที่ดิน ส.ป.ก. เอื้อธุรกิจพลังงาน
อ่าน

ม.44 ล้ม คำพิพากษาศาลปกครอง ปลดล๊อกที่ดิน ส.ป.ก. เอื้อธุรกิจพลังงาน

หลายปีที่ผ่านมา กิจการเหมืองแร่ ปิโตรเลียม พลังงานกังหันลม ไม่สามารถทำในที่ดิน ส.ป.ก. ได้เนื่องจากติดคำสั่งศาลปกครองที่ให้ใช้ที่ดิน ส.ป.ก. เพื่อการเกษตรเท่านั้น ทำให้กิจการในหลายพื้นที่ต้องหยุดชะงัก คสช. จึงแก้ไขปัญหาติดขัดเช่นนี้ ด้วยอำนาจพิเศษ ม.44
ศาลสิ่งแวดล้อมใหม่ จำเป็นจริงหรือ?
อ่าน

ศาลสิ่งแวดล้อมใหม่ จำเป็นจริงหรือ?

สปท. ได้มีมติเห็นชอบรายงาน เรื่อง แนวทางการจัดตั้งศาลสิ่งแวดล้อม ขึ้นเป็นศาลชำนัญพิเศษโดยข้อเสนอข้างต้น มีปัญหาสำคัญ สปท.เข้าใจสถิติคดีคลาดเคลื่อน ศาลปกครองมีความเชี่ยวชาญมากกว่า
แถลงการณ์เครือข่ายประชาชนเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน ข้อเสนอต่อการแก้พ.ร.บ.สิ่งแวดล้อมฯ
อ่าน

แถลงการณ์เครือข่ายประชาชนเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน ข้อเสนอต่อการแก้พ.ร.บ.สิ่งแวดล้อมฯ

ขณะที่ภาครัฐกำลังเดินหน้าแก้ พ.ร.บ.ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2535 ด้านภาคประชาชนก็ห่วง ระบบ EIA ที่เดิมล้มเหลวอยู่จะถูกแก้ให้ถอยหลัง ไม่ก้าวหน้า แถมจะยัดคำสั่งตามมาตรา 44 ที่ให้ประมูลก่อน EIA ผ่าน เข้ามาอยู่ในร่างพ.ร.บ.นี้อีก จึงออกแถลงการณ์คัดค้าน