เลือกตั้ง66: ระวังเหตุเลื่อนเลือกตั้ง! เมื่อต้องรอศาลรัฐธรรมนูญชี้ขาดวิธีแบ่งเขตเลือกตั้งใหม่
อ่าน

เลือกตั้ง66: ระวังเหตุเลื่อนเลือกตั้ง! เมื่อต้องรอศาลรัฐธรรมนูญชี้ขาดวิธีแบ่งเขตเลือกตั้งใหม่

การเดินหน้าสู่เลือกตั้ง'66 มีอุปสรรคอีกแล้ว เมื่อกกต. ขอเวลาไปถามศาลรัฐธรรมนูญอีกว่า จะใช้จำนวนเกณฑ์ราษฎรในการแบ่งเขตเลือกตั้งอย่างไร ซึ่งศาลรัฐธรรมนูญควรพยายามออกคำวินิจฉัยให้เร็วที่สุด เพื่อไม่กลายเป็นเครื่องมือหยิบเอาประเด็นที่เทคนิคทางกฎหมายมาเป็นจุดพลิกผันต่อความเป็นไปทางการเมืองครั้งใหม่
เลือกตั้ง66: ส.ส.พาเหรดย้ายพรรคอลหม่าน ผลพวงรัฐธรรมนูญ 2560
อ่าน

เลือกตั้ง66: ส.ส.พาเหรดย้ายพรรคอลหม่าน ผลพวงรัฐธรรมนูญ 2560

ตลอดสมัยสภาผู้แทนราษฎรชุดที่ 25 หรือระหว่างปี 2562-2566 มีส.ส.ย้ายพรรคกันอย่างต่อเนื่อง ภาพรวมการย้ายพรรคจนถึงวันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2566 มีอย่างน้อย 138 คน
เลือกตั้ง66 : กกต. ขอภาคประชาชน ช่วยอธิบายขั้นตอนการจัดเลือกตั้ง
อ่าน

เลือกตั้ง66 : กกต. ขอภาคประชาชน ช่วยอธิบายขั้นตอนการจัดเลือกตั้ง

ศูนย์นิติศาสตร์ มธ. พร้อมด้วย iLaw และ We Watch เข้าพูดคุยกับกกต. เพื่อหารือแนวทางปฏิบัติที่จะเกิดขึ้นในการเลือกตั้งที่จะถึง และหาทางทำงานร่วมกันเพื่อให้การเลือกตั้งเกิดขึ้นโดยบริสุทธิ์โปร่งใสที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้
เลือกตั้ง 66 : เขตเลือกตั้งเพิ่มจังหวัดไหนบ้าง พรรคไหนได้เปรียบ?
อ่าน

เลือกตั้ง 66 : เขตเลือกตั้งเพิ่มจังหวัดไหนบ้าง พรรคไหนได้เปรียบ?

การเลือกตั้งปี 2566 มีการแบ่งเขตเลือกตั้งใหม่ เทียบเคียงกับการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมาแล้วมีอย่างน้อยหกพรรคได้รับอานิสงส์จากการแบ่งเขตใหม่ครั้งนี้ อย่างไรก็ตามเมื่อพิจารณาภูมิทัศน์ทางการเมืองในปี 2566 พบว่า หลายพื้นที่ยังคงความได้เปรียบ แต่จำนวนไม่น้อยเสียฐานที่มั่นทางการเมืองไป
เลือกตั้ง 66: แก้ปัญหาถูกจุดแค่ไหน? เมื่ออดีตรองเลขาฯ กกต. ถูกชี้มูล ‘ผิดวินัยร้ายแรง’ จากกรณีส่งบัตรเลือกตั้งไม่ทันจนกลายเป็นบัตรเสีย
อ่าน

เลือกตั้ง 66: แก้ปัญหาถูกจุดแค่ไหน? เมื่ออดีตรองเลขาฯ กกต. ถูกชี้มูล ‘ผิดวินัยร้ายแรง’ จากกรณีส่งบัตรเลือกตั้งไม่ทันจนกลายเป็นบัตรเสีย

13 กุมภาพันธ์ 2566 นิวัติไชย เกษมมงคล เลขาธิการคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.) ได้แถลงข่าวว่า คณะกรรมการ ป.ป.ช. มีมติชี้มูลความผิด ณัฏฐ์ เล่าสีห์สวกุล อดีตเลขาธิการ กกต. กับพวกรวม 3 ราย ในความผิดต่อตำแหน่งหน้าที่ราชการอันเป็นความผิดวินัยอย่างร้ายแรง จากการละเว้นไม่ดำเนินการรับมอบและติดตามบัตรเลือกตั้งล่วงหน้าจนเป็นเหตุให้เสียหายแก่สำนักงานอย่างร้ายแรง
เลือกตั้งใช้เทคโนโลยีล้ำแค่ไหน ก็ไม่สำคัญเท่าเลือกตั้งที่เสรี เป็นธรรม และประชาชนมีส่วนร่วม
อ่าน

เลือกตั้งใช้เทคโนโลยีล้ำแค่ไหน ก็ไม่สำคัญเท่าเลือกตั้งที่เสรี เป็นธรรม และประชาชนมีส่วนร่วม

แม้การนำเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ในการเลือกตั้งจะดูเป็นสิ่งที่น่าสนใจและน่าตื่นเต้น แต่การจะนำเทคโนโลยีใดมาใช้จะต้องผ่านการคิดที่ถี่ถ้วนเสียก่อนว่าเทคโนโลยีที่จะนำมาใช้จะรับประกันการเลือกตั้งที่เสรี เป็นธรรมและประชาชนมีส่วนร่วมได้อย่างแท้จริงหรือไม่
รู้จัก Gerrymandering แค่แบ่งเขตก็กำหนดผลแพ้ชนะเลือกตั้งได้
อ่าน

รู้จัก Gerrymandering แค่แบ่งเขตก็กำหนดผลแพ้ชนะเลือกตั้งได้

ในการเลือกตั้ง การกำหนดว่าเขตเลือกตั้งหนึ่งจะตั้งอยู่ที่ไหนอาจจะมีความสำคัญมากไม่ต่างกับการออกไปใช้สิทธิหย่อนบัตร หากมีผู้จงใจออกแบบเขตเลือกตั้งใโดยไม่ได้สะท้อนความเป็นจริงของพื้นที่ ก็อาจจะทำให้เกิดความไม่เป็นธรรมในการเลือกตั้ง เราเรียกการแบ่งเขตเลือกตั้งที่มีเป้าหมายเพื่อสร้างความได้เปรียบเสียเปรียบในการเลือกตั้งว่า Gerrymandering
‘บ้านใครบ้านมัน’ ช่วยกันดูและบอกกกต. ว่าจังหวัดของฉัน แบ่งเขตเลือกตั้งแบบไหนดี?
อ่าน

‘บ้านใครบ้านมัน’ ช่วยกันดูและบอกกกต. ว่าจังหวัดของฉัน แบ่งเขตเลือกตั้งแบบไหนดี?

กกต. แต่ละจังหวัด เปิดข้อมูลการแบ่งเขตสำหรับการเลือกตั้ง ส.ส. แบบแบ่งเขต ในปี 2566 และเปิดให้ประชาชนร่วมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการแบ่งเขตได้ถึง 13 กุมภาพันธ์ 2566
เลือกตั้ง 66: กกต. ดีดเขตเลือกตั้งพิสดาร รวมคนไม่มีสัญชาติไทยเข้ามาด้วย! ทำ 6 จังหวัดมี ส.ส. เพิ่มขึ้นหรือลดลงกว่าที่ควรเป็น
อ่าน

เลือกตั้ง 66: กกต. ดีดเขตเลือกตั้งพิสดาร รวมคนไม่มีสัญชาติไทยเข้ามาด้วย! ทำ 6 จังหวัดมี ส.ส. เพิ่มขึ้นหรือลดลงกว่าที่ควรเป็น

หลังคณะกรรมการการเลือกตั้ง (กกต.) ประกาศจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.) แบบแบ่งเขตเลือกตั้งและเขตเลือกตั้งของแต่ละจังหวัด เพื่อเตรียมพร้อมรับการเลือกตั้ง 2566 พบว่า กกต. ได้นำนวนราษฎรที่ไม่ได้มีสัญชาติไทยมาคำนวณด้วย ทั้งนี้ เมื่อนำผลคำนวณจำนวน ส.ส. แบบที่ใช้จำนวนราษฎรเฉพาะที่มีสัญชาติมาเปรียบเทียบ พบว่า มีจำนวน ส.ส. อยู่ 6 จังหวัดที่เปลี่ยนแปลงไป
กกต.แจงวิธีคำนวณแบ่งเขตเลือกตั้ง หลังสมชัยท้วงนิยาม “จำนวนราษฎร”
อ่าน

กกต.แจงวิธีคำนวณแบ่งเขตเลือกตั้ง หลังสมชัยท้วงนิยาม “จำนวนราษฎร”

จากกรณีที่อดีตกกต.ตั้งคำถามถึงการแบ่งเขตเลือกตั้งจากการคำนวณราษฎรรวมบุคคลที่ไม่มีสัญชาติไทยด้วยเป็นค่าฐานในการหาค่าเฉลี่ยจำนวนราษฎรต่อส.ส.หนึ่งคนกกต.ชี้แจงว่า นิยามจำนวนราษฎรถูกต้องโดยยกความเห็นคณะกรรมการกฤษฎีกา (คณะที่ 1) กรณีอำเภอแม่สอด จังหวัดตากประกอบ