-
24 พฤษภาคม 2562 เป็นวันที่วุฒิสภาเปิดประชุมเป็นครั้งแรก สมาชิกวุฒิสภา (ส.ว.) แต่งตั้งทั้ง 250 คน เข้าสู่ตำแหน่งผ่านกระบวนการคัดเลือกจากคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) มีวาระการทำงาน 5 ปีตามที่รัฐธรรมนูญ 2560 กำหนดไว้ในบทเฉพาะกาล ...
-
นับตั้งแต่วันที่ 26 มีนาคม 2563 จนถึงวันที่ 11 พฤษภาคม 2563 เป็นเวลากว่าหนึ่งเดือนเศษที่รัฐบาล คสช.2 เลือกใช้ ยาแรง อย่างพระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548 หรือ พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ เพื่อรับมือกับการระบาดของโรค ...
-
สถานการณ์ทางการเมืองการปกครองในปี 2563 ภายใต้รัฐบาล คสช.2 แม้จะมีสภาผู้แทนราษฎรจากการเลือกตั้งแล้ว และมีพรรคการเมืองถึง 26 พรรคในสภา แต่ผู้ถืออำนาจก็ยังคงปกครองประเทศแบบผูกขาดอำนาจและขาดการตรวจสอบถ่วงดุล แทบไม่ต่างจากยุค คสช.1 ...
-
คำเตือนถึงรัฐธรรมนูญ 2560 ว่าจะนำซึ่งความวุ่นวาย ความไร้เสถียรภาพทางการเมือง และการต่อรองผลประโยชน์ระหว่างพรรคการเมืองต่างๆ เป็นจริงขึ้นเมื่อมีสภาผู้แทนราษฎร ...
-
กรณีเสียบบัตรแทนกันของ ฉลอง เทอดวีระพงศ์ ส.ส.พรรคภูมิใจไทย จังหวัดพัทลุง ที่ออกมายอมรับว่าไม่ได้อยู่ประชุมสภา เมื่อวันที่ 20 มกราคม 2563 แต่มีชื่อว่าลงคะแนนโหวต วาระ 2 และ 3 ร่าง พ.ร.บ.งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. .... ...
-
การแก้ไขรัฐธรรมนูญเริ่มต้นนับหนึ่งในสภาผู้แทนราษฎรแล้ว โดยการตั้ง คณะกรรมาธิการ (กมธ.) วิสามัญพิจารณาศึกษาหลักเกณฑ์และวิธีการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 ขึ้น ซึ่งหลังประชุมนัดที่สองไปเมื่อวันที่ 14 มกราคมที่ผ่านมา ...
-
การจัดการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฏร ในปี 2562 มีเรื่องอื้อฉาวในทางลบมากมาย ตั้งแต่การจัดการเลือกตั้งล่วงหน้า การเลือกตั้งนอกราชอาณาจักรก็พบเหตุวุ่นวาย ทั้งการแจกบัตรเลือกตั้งผิดเขต การต่อคิวยาวนาน การปรากฏชื่อผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิไปแล้ว ฯลฯ ...
-
18 ธันวาคม 2562 ที่ประชุมภาผู้แทนราษฎรมีมติเห็นชอบตั้งคณะกรรมาธิการ (กมธ.) วิสามัญพิจารณาศึกษาหลักเกณฑ์และวิธีการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 ด้วยคะแนนเสียง 445 เสียง งดออกเสียง 3 เสียง เรียกได้ว่า ...
-
11 ธันวาคม 2562 ที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎรมีนัดพิจารณาญัตติด่วน เรื่องการตั้ง คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาเพื่อศึกษาหลักเกณฑ์และวิธีการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 หรือเรียกสั้นๆ ว่า กมธ.แก้รัฐธรรมนูญฯ ...
-
ก่อนการเลือกตั้ง หนึ่งในนโยบายหลักของพรรคการเมืองที่ไม่สนับสนุนการสืบทอดอำนาจของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) คือ การแก้ไขรัฐธรรมนูญ เนื่องจากรัฐธรรมนูญ ปี 2560 ได้สร้างกลไกสืบทอดอำนาจเอาไว้ อย่างเช่น ให้สมาชิกวุฒิสภา (ส.ว.) มาจากการคัดเลือกโดย ...