Articles

political party's standpoint on 112 section
อีกไม่ถึง 6 เดือนจะมีการเลือกตั้ง 2566 แล้ว หากปลายทางเดียวของข้อเสนอ #ยกเลิก112 คือการผ่านเข้าสู่กระบวนพิจารณากฎหมายในฐานะ “ร่างพ.ร.บ.แก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญา” ตลอดจนประกาศใช้เป็นกฎหมายต่อไป แล้วบรรดาพรรคการเมืองคิดเห็นอย่างไรกับการแก้ไขมาตรา 112 ?
APEC and BCG plan
บทวิพากษ์โมเดลเศรษฐกิจ BCG ที่รัฐบาลพยายามจะนำเสนอในงานการประชุม APEC โดย FTA Watch ว่าแท้จริงก็คือเวทีการส่งเสริมการค้าเสรี และการอ้างเศรษฐกิจสีเขียว เศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกิจหมุนเวียนเพื่อตอบสนองต่อกลุ่มทุนขนาดใหญ่ทั้งในระดับระหว่างประเทศและระดับชาติ 
The return of two ballots system
ในการเลือกตั้งทั้วไปปี 2566 นอกจากสูตรคำนวณสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรประเภทบัญชีรายชื่อหรือปาร์ตี้ลิสต์ที่เปลี่ยนไปแล้ว สิ่งสำคัญอีกหนึ่งประการคือประชาชนจะได้รับบัตรเลือกตั้ง “สองใบ” เมื่อเดินเข้าคูหาเลือกตั้ง จากที่ครั้งก่อนมีเพียงใบเดียวเท่านั้น
หากสภาผู้แทนราษฎรชุดที่ 25 หมดอายุลงด้วยเหตุอยู่ครบวาระสี่ปี คือสิ้นสุดในวันที่ 24 มีนาคม 2566 การเลือกตั้งครั้งใหม่ตามที่คณะกรรมการการเลือกตั้ง (กกต.) กำหนดจะเกิดขึ้นในวันที่ 7 พฤษภาคม 2566 และทำให้พรรคการเมืองมีเวลาหาเสียงเลือกตั้งอีกประมาณหกเดือนถ้านับตั้งแต่เดือนตุลาคม 2565 เมื่อการเลือกตั้งใกล้เข้ามา จึงไม่ใช่เรื่องแปลกที่หลายพรรคการเมืองจะเริ่มจัดทัพปรับโฉมใหม่
election bill
แม้ว่าร่างกฎหมายเลือกตั้ง จะผ่านรัฐสภามาแล้วแบบงงๆ แต่ดูเหมือนว่าเส้นทางของกฎหมายเลือกตั้ง จะยังไม่ถึงปลายทางได้ง่ายๆ เมื่อส.ส. และส.ว รวม 105 คน เข้าชื่อกันเสนอประธานรัฐสภา เพื่อส่งให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยว่า ร่างกฎหมายเลือกตั้งฉบับนี้ ตราขึ้นโดยไม่ถูกต้องตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ 
Political Party Member Before MP Candidate
กฎหมายกำหนดให้ผู้ที่จะสมัคร ส.ส.ต้องเป็นสมาชิกพรรค 90 วัน นับจนถึงวันเลือกตั้งในกรณีครบวาระสภา หรือ 30 วัน นับจนถึงวันเลือกตั้งในกรณียุบสภา ถ้าสภาอยู่ครบวาระ ส.ส. ที่ต้องการย้ายพรรคต้องลาออกจากสมาชิกพรรคเดิมก่อน ซึ่งจะส่งผลให้สถานะการเป็น ส.ส. สิ้นสุดลง 
seminar
17 ต.ค. 2565 เครือข่ายรามคำแหงเพื่อประชาธิปไตย จัดงานเสวนา รัฐธรรมนูญฉบับประชาชน “ความฝันที่ไม่ไกลเกินเอื้อม” พูดคุยถึงถึงปัญหาของรัฐธรรมนูญ 2560 และการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญสี่ครั้งที่ผ่านมา มองไปอนาคตข้างหน้าถึงการปักธงจัดทำรัฐธรรมนูญใหม่ทั้งฉบับ สสร. ที่มาจากการเลือกตั้ง 
พรรคก้าวไกลใช้กลไกตามพ.ร.บ. ประชามติ ล่ารายชื่อประชาชน 50,000 ชื่อเพื่อเสนอครม. ให้ทำประชามติว่าต้องการให้มีการจัดทำรัฐธรรมนูญฉบับใหม่โดยสสร. ที่มาจากการเลือกตั้งของประชาชนหรือไม่
เหตุการณ์ในวันที่ 14 ตุลาคม 2516 เป็นปรากฏการณ์ทางการเมืองที่สำคัญครั้งหนึ่งในประวัติศาสตร์ ไม่ว่าในฐานะ “วันมหาวิปโยค” วันที่มีการปราบปรามประชาชนที่ออกมาประท้วงรัฐบาลจอมพลถนอม กิตติขจร อย่างรุนแรง แต่ในอีกมุมหนึ่ง เหตุการณ์ 14 ตุลาฯ ก็ถูกจดจำในฐานะ “การปฏิวัติตุลาคม” ที่ฝ่ายผู้ชุมนุมประท้วงรัฐบาลได้รับชัยชนะเหนือฝ่ายเผด็จการทหารจนนำไปสู่การเปลี่ยนตัวรัฐบาลและมีรัฐธรรมนูญฉบับใหม่
Digital Government
ในวันที่ 27 กรกฎาคม 2565 ที่ประชุมรัฐสภาเห็นชอบกฎหมาย ร่างพระราชบัญญัติปฏิบัติทางราชการทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2565 หนึ่งในกฎหมายปฏิรูปที่จะเข้ามาเปลี่ยนแปลงวิธีการที่ประชาชนสามารถติดต่อกับหน่วยงานราชการผ่านช่องทางอิเล็กทรอลิกส์ได้