Hot Issues

อบจ. เป็นหนึ่งในรูปแบบองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีวัตถุประสงค์ให้ประชาชนในท้องถิ่นได้มีโอกาสปกครองกันเองโดยหลักจะมีการเลือกตั้งทุก 4 ปี แต่เนื่องจากมีการรัฐประหารของ คสช. ทำให้การเลือกตั้งท้องถิ่นต้องถูก "แช่แข็ง" ไว้ และเว้นว่างไปนานกว่า 6 ปี หรือบางพื้นที่กว่า 8 ปี แต่อย่างไรก็ตาม การเลือกตั้งอบจ. กำลังจะมีขึ้นในวันที่ 20 ธ.ค.นี้    
10 proposals
ชวนพิจารณาข้อเสนอปฏิรูปสถาบันพระมหากษัตริย์ทั้ง 10 ข้อ หากจะนำไปสู่การปฏิบัติให้เกิดขึ้นจริงได้ มีอย่างน้อย 5 ข้อ ที่ต้องอาศัยกระบวนการออกกฎหมายของรัฐสภาเป็นกลไกสำคัญ ส่วนอีก 5 ข้อนั้น ต้องอาศัยการปฏิรูปทัศนคติของคนในสังคมและวัฒนธรรมความเชื่อ
Letter to Police
สมาคมนักกฎหมายสิทธิมนุษยชน พร้อมองค์กรเครือข่ายด้านสิทธิ ยื่นหนังสือต่อผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ ชี้ตำรวจปฏิบัติผิดหลักสิทธิมนุษยชนกรณีการชุมนุมของนิสิตนักศึกษา ขอให้ปรับปรุงให้ถูกต้องเพื่อเป็นหนทางแก้ไขความขัดแย้งทางการเมือง
Riot Police
นักกฎหมาย 452 คน ร่วมลงชื่อในแถลงการณ์คัดค้านการประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินที่มีความร้ายแรง ชี้คล้าย "รัฐประหารจำแลง" และคัดค้านการใช้กำลังสลายการชุมนุม พร้อมเรียกร้องปล่อยตัวผู้ชุมนุมทันทีโดยไม่มีเงื่อนไข ถอนข้อหาประทุษร้ายพระราชินี
International Standards
ชวนดูหลักกฎหมายระหว่างประเทศที่เกี่ยวข้องกับเสรีภาพในการชุมนุม และหลักปฏิบัติหากเจ้าหน้าที่จะสลายการชุมนุม หลังจากมีการสลายการชุมนุมของ "คณะราษฎร63" เมื่อช่วงค่ำวันที่ 16 ต.ค.ที่ใต้สถานีรถไฟฟ้าบีทีเอสสยาม
คณาจารย์คณะนิติศาสตร์ ออกแถลงการณ์เรื่อง เรียกร้องให้ยกเลิกประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินที่มีความร้ายแรงในเขตท้องที่กรุงเทพมหานครเมื่อวันที่ 15 ตุลาคม 2563 
แม้จะผ่านมาแล้ว 44 ปี แต่เหตุการณ์ 6 ตุลาฯ ก็ยังอีกหลายเรื่องที่ยังต้องทำการศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม แต่อย่างน้อยที่สุด ข้อค้นพบเกี่ยวกับเหตุการณ์ 6 ตุลาฯ ในมุมมองของนักวิชาการที่มาร่วมงานเสวนาในหัวข้อ "หา(ย) : อุดมการณ์ – ความทรงจำ – รัฐธรรมนูญ" คือ เหตุการณ์ 6 ตุลาฯ เป็นความพยายามเหนี่ยวรั้งการเปลี่ยนแปลง หรืออีกนัยหนึ่งคือความพยายาม ตัดตอนระบอบประชาธิปไตยของกลุ่มศักดินาโดยเอาชีวิตของเหล่านิสิตนักศึกษาเป็นเครื่องสังเวย
Paiboon
เมื่อวานนี้ (1 ต.ค.63) สมาคมผู้สื่อข่าวต่างประเทศแห่งประเทศไทย (FCCT) ได้จัดงานเสวนาเกี่ยวกับการแก้รัฐธรรมนูญ มีผู้เข้าร่วม 4 คน ได้แก่ ไพบูลย์ นิติตะวัน, รังสิมันต์ โรม , รศ.ดร.สิริพรรณ นกสวน สวัสดี และยิ่งชีพ อัชฌานนท์   
ที่ประชุมรัฐสภาเลื่อนการพิจารณาญัตติร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญ พร้อมทั้งตั้ง กมธ. ศึกษาร่างฯ ท่ามกลางการคัดค้านของ ส.ส. พรรคฝ่ายค้าน เพราะเห็นว่า จะเป็นการ "ถ่วงเวลา" แก้รัฐธรรมนูญให้ทอดยาวออกไปโดยไม่จำเป็น
หลังศาลฎีกาแผนกคดีเลือกตั้ง  "ยกคำร้อง" ขอเพิกถอนสิทธิสมัครรับเลือกตั้งหรือเพิกถอนสิทธิเลือกตั้ง 'สุรพล เกียรติไชยากร' อดีตผู้สมัคร ส.ส.เขต 8 จังหวัดเชียงใหม่ พรรคเพื่อไทย ตามที่คณะกรรมการการเลือกตั้ง (กกต.) ได้ร้องขอ สิ่งที่ตามมาคือ คำถามถึงความเป็นธรรมต่อผู้สมัคร ส.ส.เพื่อไทย ที่ถูกเขี่ยออกจากการสนามการเลือกตั้ง และนำไปสู่คำถามถึงความถูกต้องชอบธรรมของการเลือกตั้งในปี 2562 ที่อยู่ภายใต้กติกาและผู้บังคับใช้กติกาที่มีคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) เป็นผู้กำหนด