-
การจดทะเบียนสมรส นอกจากจะเป็นเครื่องมือในการร้อยรัดคนคู่หนึ่งให้ผูกพันกันในทางกฎหมาย ยังเกี่ยวพันไปถึงประเด็นการใช้ชีวิตร่วมกันของคนทั้งสอง ทั้งความยินยอมในการรักษาพยาบาล การแจ้งความดำเนินคดี การจัดการทรัพย์สิน ...
-
ตลอดหนึ่งทศวรรษที่ผ่านมา การผลักดันกฎหมายเพื่อรับรองสิทธิก่อตั้งครอบครัวของผู้มีความหลากหลายทางเพศในประเทศไทย กลายมาเป็นหนึ่งในประเด็นที่สังคมให้ความสนใจและรอคอยติดตาม ไม่ว่าจะเป็น ความพยายามผลักดันร่างพระราชบัญญัติคู่ชีวิต (ร่างพ.ร.บ.คู่ชีวิต) ...
-
14 พฤศจิกายน 2564 เวลา 20.00-21.00 น. กลุ่มคณาจารย์ผู้สอนวิชากฎหมายครอบครัวและมรดก โดย อ.ไพโรจน์ กัมพูสิริ และเพจนักวิจัยกฎหมาย LGBTI ได้จัดเสวนาวิชาการทางออนไลน์ในหัวข้อ ทิศทางคำตัดสินของศาลรัฐธรรมนูญต่อการสมรสระหว่างบุคคลที่มีเพศเดียวกัน ...
-
5-10 พฤศจิกายน 2564 ไอลอว์เปิดแบบสอบถามออนไลน์ เช็คความคิดเห็นของผู้คนในสังคมเกี่ยวกับประเด็น #สมรสเท่าเทียม ก่อนที่ศาลรัฐธรรมนูญจะมีมติว่าประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ขัดหรือไม่ขัดกับรัฐธรรมนูญ ในวันที่ 17 พฤศจิกายน 2564 ...
-
ภาพลักษณ์อย่างหนึ่งที่ชาวต่างชาติรู้จักประเทศไทย คือ สวรรค์ของ LGBTQ (ผู้มีความหลากหลายทางเพศ) ส่วนหนึ่งเพราะผู้มีความหลากหลายทางเพศในประเทศไทยบางส่วนสามารถแสดงออกถึงเพศสภาวะและความเป็นตัวเองได้ ...
-
17 พฤศจิกายน 2564 ศาลรัฐธรรมนูญนัดแถลงด้วยวาจา ปรึกษาหารือและลงมติกรณีที่ศาลเยาวชนและครอบครัวกลางส่งคำโต้แย้งของผู้ร้องในคดีแพ่งหมายเลขดำที่ ยชพ 1056/2563 ให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยตามรัฐธรรมนูญมาตรา 212 ว่า ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1448 ...
-
วันที่ 20 ตุลาคม 2564 สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญเผยแพร่ข่าวศาลรัฐธรรมนูญ ระบุว่า ศาลรัฐธรรมนูญได้ประชุมปรึกษาคดีที่สำคัญ หนึ่งในนั้นคือ คดีที่ศาลรัฐธรรมนูญต้องวินิจฉัยว่า ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ป.พ.พ) มาตรา 1448 ...
-
10 มิถุนายน 2564 เวลา 19.30-22.00 น. กลุ่มนักกฎหมายจากหลายสถาบันเพื่อส่งเสริม สิทธิ เสรีภาพให้เกิดความยุติธรรมแก่ประชาชน หรือ Nitihub จัดงานเสวนาวิชาการออนไลน์ในหัวข้อ LGBTQI+ มีพื้นที่แค่ไหนในสังคม ? เนื่องในโอกาสเฉลิมฉลองเดือนแห่งความภาคภูมิใจ ...
-
แม้ฐานคิดทางกฎหมายจะมองว่าการให้บริการทางเพศเป็นเรื่องที่ขัดต่อศีลธรรมอันดีและจำเป็นต้องมีการควบคุม ดังที่ประเทศไทยมีการบังคับใช้พระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณี พ.ศ.2539 อยู่ในปัจจุบัน ...
-
19 กุมภาพันธ์ 2563 ศาลรัฐธรรมนูญมีคำวินิจฉัยที่ 4/2563 ชี้ว่าประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 301 ซึ่งกำหนดความผิดแก่หญิงที่ทำให้ตนเองแท้ง ขัดต่อรัฐธรรมนูญ และแนะนำให้แก้ไขกฎหมายภายใน 360 วัน ...