กฎหมายกำหนดให้ผู้ที่จะสมัคร ส.ส.ต้องเป็นสมาชิกพรรค 90 วัน นับจนถึงวันเลือกตั้งในกรณีครบวาระสภา หรือ 30 วัน นับจนถึงวันเลือกตั้งในกรณียุบสภา ถ้าสภาอยู่ครบวาระ ส.ส. ที่ต้องการย้ายพรรคต้องลาออกจากสมาชิกพรรคเดิมก่อน ซึ่งจะส่งผลให้สถานะการเป็น ส.ส. สิ้นสุดลง
17 ต.ค. 2565 เครือข่ายรามคำแหงเพื่อประชาธิปไตย จัดงานเสวนา รัฐธรรมนูญฉบับประชาชน “ความฝันที่ไม่ไกลเกินเอื้อม” พูดคุยถึงถึงปัญหาของรัฐธรรมนูญ 2560 และการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญสี่ครั้งที่ผ่านมา มองไปอนาคตข้างหน้าถึงการปักธงจัดทำรัฐธรรมนูญใหม่ทั้งฉบับ สสร. ที่มาจากการเลือกตั้ง
พรรคก้าวไกลใช้กลไกตามพ.ร.บ. ประชามติ ล่ารายชื่อประชาชน 50,000 ชื่อเพื่อเสนอครม. ให้ทำประชามติว่าต้องการให้มีการจัดทำรัฐธรรมนูญฉบับใหม่โดยสสร. ที่มาจากการเลือกตั้งของประชาชนหรือไม่
เหตุการณ์ในวันที่ 14 ตุลาคม 2516 เป็นปรากฏการณ์ทางการเมืองที่สำคัญครั้งหนึ่งในประวัติศาสตร์ ไม่ว่าในฐานะ “วันมหาวิปโยค” วันที่มีการปราบปรามประชาชนที่ออกมาประท้วงรัฐบาลจอมพลถนอม กิตติขจร อย่างรุนแรง แต่ในอีกมุมหนึ่ง เหตุการณ์ 14 ตุลาฯ ก็ถูกจดจำในฐานะ “การปฏิวัติตุลาคม” ที่ฝ่ายผู้ชุมนุมประท้วงรัฐบาลได้รับชัยชนะเหนือฝ่ายเผด็จการทหารจนนำไปสู่การเปลี่ยนตัวรัฐบาลและมีรัฐธรรมนูญฉบับใหม่
ในวันที่ 27 กรกฎาคม 2565 ที่ประชุมรัฐสภาเห็นชอบกฎหมาย ร่างพระราชบัญญัติปฏิบัติทางราชการทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2565 หนึ่งในกฎหมายปฏิรูปที่จะเข้ามาเปลี่ยนแปลงวิธีการที่ประชาชนสามารถติดต่อกับหน่วยงานราชการผ่านช่องทางอิเล็กทรอลิกส์ได้
การเลือกตั้งทั่วไปในปี 2566 สำหรับประชาชนทั่วไป มีหลายประเด็นที่ต้องเตรียมตัวเพื่อให้สามารถไปใช้สิทธิเลือกตั้งได้อย่างราบรื่น และไม่ถูกตัดสิทธิอย่างไม่รู้ตัว ซึ่งเรื่องที่สำคัญหนึ่งคือการมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านที่กฎหมายกำหนดให้ต้องมีชื่ออยู่อย่างน้อยก่อนวันเลือกตั้ง 90 วัน
ส.ส.พรรคก้าวไกล เสนอแก้กฎหมายล้มละลาย เพิ่มช่องทางให้ลูกหนี้บุคคลธรรมดาสามารถ “ฟื้นฟูสภาวะทางการเงิน” ได้โดยไม่ต้องมีการฟ้องล้มละลายกันทุกกรณี สร้างภาระแก่ลูกหนี้น้อยกว่าการฟ้องล้มละลาย เปิดโอกาสให้ลูกหนี้บริหารจัดการทรัพย์สินของตนเพื่อชำระหนี้คืนเจ้าหนี้
ภายใต้รัฐธรรมนูญ 2560 การกำหนดการเลือกตั้งว่าจะเกิดขึ้นเมื่อไร และจะเลือกตั้งช้าหรือจะเร็วเกิดขึ้นภายใต้เงื่อนไขสองประการ คือ กรณีครบวาระสภาผู้แทนราษฎร และกรณีนายกรัฐมนตรียุบสภาผู้แทนราษฎร โดยทั้งสองเงื่อนไขแตกต่างกันดังนี้
ชูเกียรติ จำเลยคดีม.112 ยื่นคำร้องต่อศาลอาญาให้ส่งเรื่องให้ศาลรัฐธรรมนูญพิจารณาว่า คำสั่งของคณะปฎิรูปการปกครองแผ่นดิน ฉบับที่ 41 ที่ให้เพิ่มโทษจำคุกม.112 เป็นคำสั่งที่ชอบด้วยกฎหมายและขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญ 2560 หรือไม่
แม้ประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน ข้อกำหนด ประกาศ และคำสั่งที่ออกมาภายใต้พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ จะถูกยกเลิกแล้วตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2565 แต่การประกาศยกเลิกไม่ได้ระบุให้บรรดาคดีความในข้อหาฝ่าฝืนพ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ สิ้นสุดลงด้วย ในทางกฎหมาย คดีเหล่านี้ยังเดินหน้าต่อได้ตามกระบวนการจนกว่าคดีจะถึงที่สุด